กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน และการส่งต่อผู้ป่วย
รหัสโครงการ 68-L2516-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลสาวอ
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 25 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูซีมะห์ สะมะหะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ ว่าที่ร้อยตรี นาซือรี กามา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.434,101.507place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 2 ใน 3 ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งต้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศอีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และส่งต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพติจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับ ให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชนในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชน จำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็งและเข้าใจวิธีการทำงานเชิงรุกในพื้นที่ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม.มีศักยภาพในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงบริการเชิงรุกในพื้นที่
เป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ เข้าถึงระบบบริการสุขภาพตามมาตรฐาน จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพเชิงรุก Health Station Check ปี 2568 เพื่อส่งเสริมการคัดกรองสุขภาพเชิงรุกและดูแลสุขภาพประชาชนในหมู่บ้าน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างจุดบริการ Health Station Check กระจายครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 3.เพื่อพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความสามารถในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน 2. เพื่อให้ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงระบบบริการสุขภาพในระดับหมู่บ้าน
  1. มีจุดบริการการจัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพ ณ  Health Station Check หมู่บ้านละ 1
    1. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความสามารถให้บริการสุขภาพ   ประจำจุด Health Station Check ร้อยละ 80
    2. มีสถานี Health Station Check เปิดบริการให้ประชาชนหมู่บ้านละ 1 แห่ง
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อสร้างจุดบริการ Health Station Check กระจายครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 3.เพื่อพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีความสามารถในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน 2. เพื่อให้ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงระบบบริการสุขภาพในระดับหมู่บ้าน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. มีจุดบริการการจัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพ ณ Health Station Check หมู่บ้านละ 1
    1. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความสามารถให้บริการสุขภาพ   ประจำจุด Health Station Check ร้อยละ 80
    2. มีสถานี Health Station Check เปิดบริการให้ประชาชนหมู่บ้านละ 1 แห่ง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพประชาชน ในการป้องกัน เฝ้าระวังโรค กลุ่ม NCDs
  2. ประชาชนเข้าถึงระบบบริการเชิงรุก สถานีสุขภาพ Health station Check ในระดับหมู่บ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2568 11:45 น.