กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดทำปูนแดงก้อนโดยแบ่งรับผิดชอบแต่ละหมู่บ้าน จำนวน  7 หมู่บ้าน
- พูดคุยทำความเข้าใจ ในกลุ่มแกนนำสุขภาพ/อสม. - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ขิง ปูนแดง ผ้าขาว - เริ่มกิจกรรมจัดทำปูนแดง (บดขิงคั้นขิงผสมกับปูนแดง ปั้นเป็นก้อน ตากให้แห้ง 2 -3 วัน ตัดผ้าขาวห่อปูนแดงก้อนที่เตรียมไว้) - รับสมัครครัวเรือนที่สนใจทดลองใช้ปูนแดง หมู่บ้านละ 30 ครัวเรือนๆละ ประมาณ 4 คน จำนวน 7 หมู่บ้านกิจกรรมจัดทำปูนแดงก้อนกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยสมาชิกในครัวเรือน โรงเรียน ศูนย์เด็ก มีการใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลาย ผลการทดลองใช้ปูนแดง หมู่บ้านละ 30 ครัวเรือน จำนวน 7 หมู่บ้าน 210 ครัวเรือน ระยะเวลา 6 เดือน และบ้าน อสม. จำนวน 100 ครัวเรือน ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 210 ครัวเรือน อยู่ในระดับ ดี
ปูนแดงสามารถลดจำนวนลูกน้ำยุงลายในชุมชน จากการกสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย จำนวน 210 ครัวเรือน
ครั้งที่ 1 พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 70 ครัวเรือน คิดเป็น CI = 33.33 % จำนวนภาชนะ 408 ภาชนะ พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 77 ภาชนะ คิดเป็น HI = 18.87 % ครั้งที่ 2 พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 56 ครัวเรือน คิดเป็น CI = 26.67 % จำนวนภาชนะ 410 ภาชนะ พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 57 ภาชนะ คิดเป็น HI = 13.90 % ประโยชน์ที่ได้รับ
1.การใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลายแทนการใช้ทรายอะเบท เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ 2.ใช้วัสดุธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำยุงลายแทนสารเคมี ปัญหาอุปสรรค 1.การใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลาย อัตราส่วนที่ใช้ไม่แน่นอน ทำให้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ควบคุมลูกน้ำยุงลาย 2.ปูนแดงที่ปั้น ขนาดเล็กเกินไป ทำให้ต้องใช้หลายก้อน ต่อ 1 ภาชนะใส่น้ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยใช้ปูนแดง
ตัวชี้วัด : 1. สมาชิกในครัวเรือน โรงเรียน ศูนย์เด็กฯ มีการใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยร้อยละ 80 2.ผู้ใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลายมีระดับความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
80.00

ทดลองใช้ปูนแดง หมู่บ้านละ 30 ครัวเรือน จำนวน 7 หมู่บ้าน 210 ครัวเรือน ระยะเวลา 6 เดือน และบ้าน อสม. จำนวน 100 ครัวเรือน
ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ปูนแดงกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 210 ครัวเรือน เฉลี่ย อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 80

2 2. สามารถใช้ปูนแดงลดจำนวนลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ค่า HI
18.87

ปูนแดงสามารถลดจำนวนลูกน้ำยุงลายในชุมชน จากการกสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย จำนวน 210 ครัวเรือน
ครั้งที่ 1 พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 70 ครัวเรือน คิดเป็น CI = 33.33 % จำนวนภาชนะ 408 ภาชนะ พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 77 ภาชนะ คิดเป็น HI = 18.87 % ครั้งที่ 2 พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 56 ครัวเรือน คิดเป็น CI = 26.67 % จำนวนภาชนะ 410 ภาชนะ พบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 57 ภาชนะ คิดเป็น HI = 13.90 %

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 840 840
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 840 840
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยใช้ปูนแดง (2) 2. สามารถใช้ปูนแดงลดจำนวนลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย (2) กิจกรรมจัดทำปูนแดงก้อนกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh