โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา ”
หัวหน้าโครงการ
นางสุนี คงสุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 20
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aging Society) และคาดว่าในปี พ.ศ. 2574 จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society) โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2566) รายงานว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่าในปี พ.ศ. 2583 ตัวเลขนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรดังกล่าวส่งผลกระทบต่อภาคสาธารณสุขและสังคม เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มเผชิญกับปัญหาสุขภาพเรื้อรังมากขึ้น การมีสุขภาพที่แข็งแรงและสามารถดูแลตนเองได้จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการช่วยลดภาระของภาครัฐ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและเป็นอิสระ (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2566)
การสูงวัยมาพร้อมกับกระบวนการเสื่อมของร่างกาย ทำให้ความสามารถในการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases: NCDs) หนึ่งในโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุคือ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes Mellitus: T2DM) ซึ่งมีอัตราการเกิดเพิ่มขึ้นตามอายุ จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค (2566) พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยเบาหวานมากกว่า 5 ล้านคน และส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โรคเบาหวานเป็นภาวะเรื้อรังที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจโรคไตเรื้อรัง ตาพร่ามัว หรือแผลเรื้อรังที่นำไปสู่การสูญเสียอวัยวะ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงและ เพิ่มภาระต่อระบบสาธารณสุข การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานจึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างมีระบบและต่อเนื่อง โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะยาว (กรมควบคุมโรค, 2566)
ดังนั้น โครงการ “การพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา” จึงมีความสำคัญในการช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถจัดการตนเองได้ดีขึ้นผ่านกระบวนการ โค้ชวิถีชีวิต (Lifestyle Coaching) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ได้รับการยอมรับว่าสามารถส่งเสริมให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการโค้ชจะมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้และฝึกฝนการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และดูแลสุขภาพจิตของตนเองภายใต้แนวคิดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง (Person-Centered Care)ที่คำนึงถึงบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่ การดำเนินโครงการในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรม จะช่วยให้การโค้ชสามารถเข้าถึงและตอบสนองต่อความต้องการของผู้สูงอายุได้อย่างแท้จริง อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในระยะยาว ลดอัตราภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างแข็งแรงและมีความสุขในสังคมสูงวัยที่กำลังเกิดขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรม “เวซศาสตร์วิถีชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ”
- การโค้ชวิถีชีวิตรายบุคคลในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการปรับพฤติกรรม เพื่อดูแลตนเอง
2) ผู้สูงอายุมีผลการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 (Pre - Post Test)
3) ผู้เข้าร่วมอบรมมีแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย คนละ 1 พฤติกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จากคะแนนก่อนการอบรม
0.00
2
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้จริง เช่น การควบคุมอาหารและการออกกำลังกาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
280
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรม “เวซศาสตร์วิถีชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” (2) การโค้ชวิถีชีวิตรายบุคคลในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุนี คงสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา ”
หัวหน้าโครงการ
นางสุนี คงสุวรรณ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 20
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aging Society) และคาดว่าในปี พ.ศ. 2574 จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society) โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2566) รายงานว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่าในปี พ.ศ. 2583 ตัวเลขนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรดังกล่าวส่งผลกระทบต่อภาคสาธารณสุขและสังคม เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มเผชิญกับปัญหาสุขภาพเรื้อรังมากขึ้น การมีสุขภาพที่แข็งแรงและสามารถดูแลตนเองได้จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการช่วยลดภาระของภาครัฐ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและเป็นอิสระ (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2566) การสูงวัยมาพร้อมกับกระบวนการเสื่อมของร่างกาย ทำให้ความสามารถในการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases: NCDs) หนึ่งในโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุคือ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes Mellitus: T2DM) ซึ่งมีอัตราการเกิดเพิ่มขึ้นตามอายุ จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค (2566) พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยเบาหวานมากกว่า 5 ล้านคน และส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โรคเบาหวานเป็นภาวะเรื้อรังที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจโรคไตเรื้อรัง ตาพร่ามัว หรือแผลเรื้อรังที่นำไปสู่การสูญเสียอวัยวะ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงและ เพิ่มภาระต่อระบบสาธารณสุข การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานจึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างมีระบบและต่อเนื่อง โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะยาว (กรมควบคุมโรค, 2566) ดังนั้น โครงการ “การพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา” จึงมีความสำคัญในการช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถจัดการตนเองได้ดีขึ้นผ่านกระบวนการ โค้ชวิถีชีวิต (Lifestyle Coaching) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ได้รับการยอมรับว่าสามารถส่งเสริมให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการโค้ชจะมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้และฝึกฝนการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และดูแลสุขภาพจิตของตนเองภายใต้แนวคิดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง (Person-Centered Care)ที่คำนึงถึงบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่ การดำเนินโครงการในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรม จะช่วยให้การโค้ชสามารถเข้าถึงและตอบสนองต่อความต้องการของผู้สูงอายุได้อย่างแท้จริง อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในระยะยาว ลดอัตราภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างแข็งแรงและมีความสุขในสังคมสูงวัยที่กำลังเกิดขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรม “เวซศาสตร์วิถีชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ”
- การโค้ชวิถีชีวิตรายบุคคลในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการปรับพฤติกรรม เพื่อดูแลตนเอง 2) ผู้สูงอายุมีผลการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 (Pre - Post Test) 3) ผู้เข้าร่วมอบรมมีแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย คนละ 1 พฤติกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จากคะแนนก่อนการอบรม |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้จริง เช่น การควบคุมอาหารและการออกกำลังกาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 280 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการโค้ชวิถีชีวิตที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพจิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรม “เวซศาสตร์วิถีชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” (2) การโค้ชวิถีชีวิตรายบุคคลในผู้สูงอายุและผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมืองสะเตงนอก จังหวัดยะลา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการพัฒนาการโค้ชวิถีชีวิตในผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิด 2 เทศบาลเมือง สะเตงนอก จังหวัดยะลา จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุนี คงสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......