กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานสาธารณสุขที่มีความสำคัญมากซึ่งมีผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนไทย โรคติดต่อหลายโรคในประเทศไทยลดลง ด้วยการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างครอบคลุมทั่วถึง และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์กรภาครัฐเพื่อให้การดำเนินงานมุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต

    ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด และมีความต่อเนื่องตลอดไป

    พื้นที่ตำบลโกตาบารู การให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ในปีพ.ศ. 2567 พบว่า เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 82.09 เด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 14.91 และเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนเลย คิดเป็นร้อยละ 9.58 ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการทบทวนการดำเนินงานการเร่งรัดติดตาม ค้นหาเด็กในกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ และต้องอาศัยกลุ่มองค์กรอื่นๆที่อยู่ภายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อส่งเสริม พัฒนางานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อให้เด็กในพื้นที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี











ตารางแสดงผลการดำเนินงานความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนตำบลโกตาบารู ปีงบประมาณ 2567 ความครอบคลุมวัคซีน ผลงานปี 67 (ร้อยละ) เด็ก0-5ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 82.09 เด็ก0-5ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ 14.91 เด็ก0-5ปี ไม่ได้รับวัคซีนเลย 9.58

บทวิเคราะห์       จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า ผลการปฏิบัติงานภาพรวมย้อนหลัง 1 ปี มีแนวโน้มพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยสามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้ดังนี้ ความไม่เชื่อถือในตัวบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กไม่ตระหนักและไม่เห็นความสำคัญของวัคซีน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาอาสาสมัครสาธารณสุข ไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร ทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในพื้นที่ไม่สามารถที่จะบรรลุเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กำหนดได้ เพื่อให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคบรรลุตามตัวชี้วัดและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีความจำเป็นต้องอาศัยกลุ่มองค์กรต่างๆ ที่อยู่ภายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีการรับรู้สถานการณ์การเกิดโรคในเด็ก 0-5 ปี สถานการณ์เรื่องวัคซีน สภาพปัญหาปัจจุบัน การเข้าถึงบริการวัคซีน และกลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ 0-5 ปี ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และ อสม.ตำบลโกตาบารู จำนวน 150 คน รุ่นที่ 1-2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองมีความตระหนัก และเห็นความสำคัญเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเด็กอายุ 0-5 ปี ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงาน และเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีการรับรู้สถานการณ์การเกิดโรคในเด็ก 0-5 ปี สถานการณ์เรื่องวัคซีน สภาพปัญหาปัจจุบัน การเข้าถึงบริการวัคซีน และกลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ 0-5 ปี ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และ อสม.ตำบลโกตาบารู จำนวน 150 คน  รุ่นที่ 1-2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด