แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในการประเมินกลุ่มวัย การส่งต่อและการติดตามได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพสามารถประเมินสุขภาพตามกลุ่มวัย การส่งต่อและการติดตามหลังการส่งต่อได้อย่างถูกต้องเหมาะสมมากกว่าร้อยละ 80 |
||||||
2 | เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องปฎิบัติตัวเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่อง ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ โรงเรียนพ่อแม่ การตรวจสุขภาพช่องปาก ได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80 |
||||||
3 | เพื่อให้กลุ่มอายุ 0-5 ปีและผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องปฎิบัติตัวเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : ได้รับการส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ การส่งเสริมพัฒนาการตามกลุ่มวัย การกระตุ้นพัฒนาการ การส่งต่อเมื่อพบพัฒนาการล่าช้าการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80 |
||||||
4 | เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นและวัยเรียน มีความรู้เรื่องปฎิบัติตัวเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ได้รับแนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การติดตามกลุ่มบำบัดยาเสพติด พิษภัยของบุหรี่และสุรา การเกิดอุบัติเหตุการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80 |
||||||
5 | เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้เรื่องปฎิบัติตัวเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ได้รับแนวทางการส่งเสริมการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ โรคที่เกิดจากการทำงาน กลุ่มโรคเรื้อรัง และการป้องกันและการดูแลสุขภาพให้ปลอดโรค การตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80 |
||||||
6 | เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุและโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องปฎิบัติตัวเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ได้รับแนวทางการดูแลผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่ม การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในเบื้องต้น การตรวจสุขภาพช่องปาก อาการผิดปกติที่ควรส่งต่อ ระบบการส่งต่อในคลินิก การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เข่น ภาวะแทรกซ้อนของโรค การรับประทานยาต่อเนื่องและการมาตามนัด หลังจากนั้นสรุปปัญหาและปัจจัยเสี่ยงในการปฏิบัติตัวต่าง ๆ ประกอบด้วย การปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับโรค พยาธิสภาพของโรค การดำเนินของโรค รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย |