กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละหญิงที่สิ้นสุดตั้งครรภ์ทุกรายลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ10
0.00

 

2 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์และฝากครรภ์ทันทีเมื่อตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์) ร้อยละ 90 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ 8 ครั้ง
0.00

 

3 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง ร้อยละ 100 2.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด ร้อยละ100 3.ร้อยละของทารก แรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมน้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 7.00
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที (2) 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (3) 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้านและอสม. จำนวน 54 คน จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ (2) 2.จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพ่อ-แม่หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 20 คน (3) จัดอบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยุ่กินกับสามีและหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน  40 คน (4) จัดกิจกรรมการเจาะคัดกรอง ฮีมาโตคริต พร้อมจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี  จำนวน  คน 70 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh