กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจ สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดและความพร้อมรับสถานการณ์ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีรายงานสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินและกลุ่มจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำ

 

2 เพื่อสร้างมาตรการการรับส่งต่อผู้ป่วย แนวทางการประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุรวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง
ตัวชี้วัด : มีแนวทางประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการรับส่งต่อผู้ป่วย

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้มีทักษะในการเผชิญเหตุผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง สัญญาณเตือน ด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว
ตัวชี้วัด : ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาทักษะด้านการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัยและเทคนิกการป้องกันตัว

 

4 เพื่อกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลองรวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริง
ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติการ ซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลอง อย่างน้อย 1 ครั้ง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจ สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดและความพร้อมรับสถานการณ์ในพื้นที่ (2) เพื่อสร้างมาตรการการรับส่งต่อผู้ป่วย แนวทางการประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุรวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้มีทักษะในการเผชิญเหตุผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง สัญญาณเตือน ด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว (4) เพื่อกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลองรวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบากล่ำ ปีงบประมาณ 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh