โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอุดมศักดิ์ อิทธิสัน (ครู)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-27 เลขที่ข้อตกลง 26/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,756.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ยาเสพติดในชุมชน ในโรงเรียน สะท้อนให้เห็นปัญหายาเสพติดส่งผลให้เด็กและเยาวชนในชุมชน และโรงเรียน มีความอยากรู้อยากลอง และชักชวนกันไปเสพสารเสพติด ด้วยการขาดความรู้ ไม่มีทักษะการป้องกันตนเองจากเสพติด ส่งผลให้นักเรียนและเยาวชนติดสารเสพติด และเพื่อเป็นการแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา จึงจัดการฝึกอบรม แก่นักเรียน เพื่อจัดการเรียนการสอนและจัด สร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ มีทักษะการดำรงชีวิตที่เกิดจากการฝึกหัด สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง อีกด้านหนึ่งคือเป็นการบ่มเพาะ กล่อมเกลา ปลูกฝัง และปลูกจิตสำนึก ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ มีลักษณะของผู้นำที่ดี เป็นผู้มีประชาธิปไตย และสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ยาเสพติดนั้นส่งผลกระทบร้ายแรงกับสุขภาพของผู้ติดยาเสพติดโดยตรง ทั้งสุขภาพกาย ทำให้ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย พิษยาทำลายอวัยวะต่าง ๆ ให้เสื่อมลง มีโรคแทรกช้อนได้ง่าย ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง และสุขภาพจิต ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ชึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้น ๆ
สถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติดในปัจจุบันมีสัดส่วนสูงในผู้เสพ และผู้ค้า โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก และเยาวชน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ถือว่าเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเข้ามาเกี่ยวข้อง กับยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ โดยสาเหตุของการเกิดปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน พบว่ามาจากหลายสาเหตุ จำแนกสาเหตุที่เกิดจากภายในจิตใจของตัวบุคคล เช่น ความคิด ความเชื่อ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะการใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเร้าของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่นปัจจัยสิ่งแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพล เช่น ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน ครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจูงใจในการเริ่มต้นนำยาทางการแพทย์มาใช้ในทางที่ผิด เพราะอยากรู้อยากลอง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศ
สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภายนอกโรงเรียนบ้านลำแคลง พบว่า ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน หรือพื้นที่หมู่บ้านและตำบลบริเวณใกล้เคียงในเขตการดูแลรรักษาความสงบของสถานีตำรวจภูธรบ้าน
หนองเอื้อง (อ้างอิงจากข้อมูลสถิติการจับกุมคดียาเสพติด จำนวนผู้ติดและผู้ค้ายาเสพติดในพื้นที่ 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2564 – 2566) ของสถานีตำรวจบ้านหนองเอื้อง ซึ่งมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในการใช้สารเสพติดให้โทษประเภทต่าง ๆ ตลอดจนบุหรี่และแอลกอฮอล์ ในกลุ่มของเด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ อีกทั้งยังมีการใช้เด็กและเยาวชนบางส่วนเป็นเครื่องมือในการเป็นช่องทางกาผ่านของยาเสพติด ด้วยเหตุผลนี้ทางโรงเรียนบ้านลำแคลง จึงมีมาตรการอย่างเข้มงวดในการสอดส่อง และเฝ้าระวังกลุ่มเยาวชนที่เป็นวัยรุ่นที่อยู่ในช่วงวัยเรียนหรือทำงานในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน ตลอดจนพื้นที่รอบนอกในชุมชนใกล้เคียง เพื่อป้องกันมิให้นักเรียนและเยาวชนเข้าไปยุ่งในเรื่องสารเสพติดทุกชนิด โดยยึดแนวคิดการล้อมรั้วโรงเรียน เพื่อป้องกันยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในสถานศึกษาอย่างครบวงจร โดยมีมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกัน บำบัดรักษา และปราบปรามผู้ค้า
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่โรงเรียนบ้านลำแคลงให้ความสำคัญเป็นลำดับต้นๆ เนื่องด้วยกลุ่มที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดในพื้นที่ใกล้เคียงและรอบสถานศึกษาเป็นเยาวชน สาเหตุมาจากผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่มีเวลาดูแลนักเรียน บางครั้งด้วยอาชีพการงานและสภาพของเศรษฐกิจในสังคมทำให้ต้องเปลี่ยนสถานที่ทำงาน จึงส่งผลให้นักเรียนขาดคนดูแลเอาใจใส่ ประกอบกับโรงเรียนอยู่ใกล้ร้านค้า ที่เป็นแหล่งขายบุหรี่และแอลกอฮอล์ ส่งผลให้นักเรียนมีความเสี่ยงต่อยาเสพติดเพราะนักเรียนสามารถหาซื้อ ได้ง่าย และส่งผลต่อให้ไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด และอีกปัจจัยเสี่ยงคือค่านิยมการกินพืชใบกระท่อม ซึ่งปัจจุบันมีการเปิดกว้างทางตลาด และเป็นที่นิยมในกลุ่มของคนในท้องถิ่นที่ประกอบอาชีพกรีดยางและใช้แรงงาน ด้วยเหตุผลที่ว่า การทานพืชกระท่อมจะทำให้มีกำลังและตื่นตัวในการทำงานต่าง ๆ ด้วยเหตุแห่งปัจจัยนี้จึงอาจส่งผลให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบ ด้วยความอยากรู้ และอยากลอง
ฉะนั้น ด้วยเหตุผลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมข้างต้น หากทางโรงเรียนบ้านลำแคลงไม่เฝ้าระวัง สอดส่องดูแลหรือวางแนวทางในการป้องกันปัญหายาเสพติดในโรงเรียนขึ้น นักเรียนอาจมีความเสี่ยงในการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตและพฤติกรรมของนักเรียนที่เปลี่ยนแปลงไปได้ เด็กนักเรียนอาจสุขภาพที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรงตามวัย มีสุขภาพทรุดโทรม ผอมซีด อ่อนเพลีย อวัยวะต่างๆภายในร่างกายถูกทำลาย ทำมาซึ่งโรคแทรกซ้อนต่างๆ เนื่องจากพิษของยาเสพติดที่เข้าไปทำลาย การควบคุมกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง มีพฤติกรรมก้าวร้าว เจ้าอารมณ์ หงุดหงิดหรือโมโหง่าย เป็นต้น นำไปสู่ปัญหาทางด้านการเรียนและปัญหาสังคมต่อไป ดังนั้นจึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ความรู้ แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และโรงเรียนมีแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดในสถานศึกษา โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา กิจกรรมหลักป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
- 2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
19
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
- นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
- นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
139
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
19
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอุดมศักดิ์ อิทธิสัน (ครู) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอุดมศักดิ์ อิทธิสัน (ครู)
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-27 เลขที่ข้อตกลง 26/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,756.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ยาเสพติดในชุมชน ในโรงเรียน สะท้อนให้เห็นปัญหายาเสพติดส่งผลให้เด็กและเยาวชนในชุมชน และโรงเรียน มีความอยากรู้อยากลอง และชักชวนกันไปเสพสารเสพติด ด้วยการขาดความรู้ ไม่มีทักษะการป้องกันตนเองจากเสพติด ส่งผลให้นักเรียนและเยาวชนติดสารเสพติด และเพื่อเป็นการแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา จึงจัดการฝึกอบรม แก่นักเรียน เพื่อจัดการเรียนการสอนและจัด สร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ มีทักษะการดำรงชีวิตที่เกิดจากการฝึกหัด สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง อีกด้านหนึ่งคือเป็นการบ่มเพาะ กล่อมเกลา ปลูกฝัง และปลูกจิตสำนึก ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ มีลักษณะของผู้นำที่ดี เป็นผู้มีประชาธิปไตย และสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ยาเสพติดนั้นส่งผลกระทบร้ายแรงกับสุขภาพของผู้ติดยาเสพติดโดยตรง ทั้งสุขภาพกาย ทำให้ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย พิษยาทำลายอวัยวะต่าง ๆ ให้เสื่อมลง มีโรคแทรกช้อนได้ง่าย ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง และสุขภาพจิต ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ชึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้น ๆ สถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติดในปัจจุบันมีสัดส่วนสูงในผู้เสพ และผู้ค้า โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก และเยาวชน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ถือว่าเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเข้ามาเกี่ยวข้อง กับยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ โดยสาเหตุของการเกิดปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน พบว่ามาจากหลายสาเหตุ จำแนกสาเหตุที่เกิดจากภายในจิตใจของตัวบุคคล เช่น ความคิด ความเชื่อ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะการใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งเร้าของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่นปัจจัยสิ่งแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพล เช่น ชุมชน สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน ครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจูงใจในการเริ่มต้นนำยาทางการแพทย์มาใช้ในทางที่ผิด เพราะอยากรู้อยากลอง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศ
สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ภายนอกโรงเรียนบ้านลำแคลง พบว่า ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน หรือพื้นที่หมู่บ้านและตำบลบริเวณใกล้เคียงในเขตการดูแลรรักษาความสงบของสถานีตำรวจภูธรบ้าน
หนองเอื้อง (อ้างอิงจากข้อมูลสถิติการจับกุมคดียาเสพติด จำนวนผู้ติดและผู้ค้ายาเสพติดในพื้นที่ 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2564 – 2566) ของสถานีตำรวจบ้านหนองเอื้อง ซึ่งมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในการใช้สารเสพติดให้โทษประเภทต่าง ๆ ตลอดจนบุหรี่และแอลกอฮอล์ ในกลุ่มของเด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ อีกทั้งยังมีการใช้เด็กและเยาวชนบางส่วนเป็นเครื่องมือในการเป็นช่องทางกาผ่านของยาเสพติด ด้วยเหตุผลนี้ทางโรงเรียนบ้านลำแคลง จึงมีมาตรการอย่างเข้มงวดในการสอดส่อง และเฝ้าระวังกลุ่มเยาวชนที่เป็นวัยรุ่นที่อยู่ในช่วงวัยเรียนหรือทำงานในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน ตลอดจนพื้นที่รอบนอกในชุมชนใกล้เคียง เพื่อป้องกันมิให้นักเรียนและเยาวชนเข้าไปยุ่งในเรื่องสารเสพติดทุกชนิด โดยยึดแนวคิดการล้อมรั้วโรงเรียน เพื่อป้องกันยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในสถานศึกษาอย่างครบวงจร โดยมีมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกัน บำบัดรักษา และปราบปรามผู้ค้า
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่โรงเรียนบ้านลำแคลงให้ความสำคัญเป็นลำดับต้นๆ เนื่องด้วยกลุ่มที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดในพื้นที่ใกล้เคียงและรอบสถานศึกษาเป็นเยาวชน สาเหตุมาจากผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่มีเวลาดูแลนักเรียน บางครั้งด้วยอาชีพการงานและสภาพของเศรษฐกิจในสังคมทำให้ต้องเปลี่ยนสถานที่ทำงาน จึงส่งผลให้นักเรียนขาดคนดูแลเอาใจใส่ ประกอบกับโรงเรียนอยู่ใกล้ร้านค้า ที่เป็นแหล่งขายบุหรี่และแอลกอฮอล์ ส่งผลให้นักเรียนมีความเสี่ยงต่อยาเสพติดเพราะนักเรียนสามารถหาซื้อ ได้ง่าย และส่งผลต่อให้ไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด และอีกปัจจัยเสี่ยงคือค่านิยมการกินพืชใบกระท่อม ซึ่งปัจจุบันมีการเปิดกว้างทางตลาด และเป็นที่นิยมในกลุ่มของคนในท้องถิ่นที่ประกอบอาชีพกรีดยางและใช้แรงงาน ด้วยเหตุผลที่ว่า การทานพืชกระท่อมจะทำให้มีกำลังและตื่นตัวในการทำงานต่าง ๆ ด้วยเหตุแห่งปัจจัยนี้จึงอาจส่งผลให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบ ด้วยความอยากรู้ และอยากลอง
ฉะนั้น ด้วยเหตุผลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมข้างต้น หากทางโรงเรียนบ้านลำแคลงไม่เฝ้าระวัง สอดส่องดูแลหรือวางแนวทางในการป้องกันปัญหายาเสพติดในโรงเรียนขึ้น นักเรียนอาจมีความเสี่ยงในการเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตและพฤติกรรมของนักเรียนที่เปลี่ยนแปลงไปได้ เด็กนักเรียนอาจสุขภาพที่ไม่สมบูรณ์แข็งแรงตามวัย มีสุขภาพทรุดโทรม ผอมซีด อ่อนเพลีย อวัยวะต่างๆภายในร่างกายถูกทำลาย ทำมาซึ่งโรคแทรกซ้อนต่างๆ เนื่องจากพิษของยาเสพติดที่เข้าไปทำลาย การควบคุมกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง มีพฤติกรรมก้าวร้าว เจ้าอารมณ์ หงุดหงิดหรือโมโหง่าย เป็นต้น นำไปสู่ปัญหาทางด้านการเรียนและปัญหาสังคมต่อไป ดังนั้นจึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ความรู้ แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และโรงเรียนมีแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดในสถานศึกษา โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา กิจกรรมหลักป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
- 2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 19 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
- นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
- นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 139 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 19 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด อาการและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ติดยาเสพติด พร้อมทั้งมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้นักเรียน มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต รู้วิธีการจัดการอารมณ์ การจัดการความเครียด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัย ห่างไกลจากยาเสพติด สามารถปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ “อบรม เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอุดมศักดิ์ อิทธิสัน (ครู) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......