กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์คัดกรองสุขภาพและค้นหาโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : คัดกรองเบาหวานได้ร้อยละ 90 คัดกรองความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป้นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง จากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
5.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติและพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
5.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 810
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน 360
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์คัดกรองสุขภาพและค้นหาโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติและพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามกลุ่มส่งสัยป่วยเบาหวานและติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) (2) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) ฟื้นฟูความรู้แกนดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยโรค ผ่านระบบออนไลน์ (4) จัดทำฐานข้อมูลประชากรกลุ่มอายุ 15-34 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป (5) จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับตรวจน้ำตาลในเลือด (6) การดำเนินกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป (7) ให้ความรู้ในกลุ่มปกติ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยง 3อ. 2ส. ให้ความรู้ผ่านแผ่นพับคิวอาร์โค้ด (8) แจ้งผลการคัดกรอง และการปฏิบัติตัวตามความเสี่ยงของแต่ละบุคคลผ่านใบแจ้งผลการคัดกรอง (9) ให้กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงวัดความดันด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ติดต่อกันเป็นเวลา 7 วัน และประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP) (10) ให้กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงวัดความดันด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ติดต่อกันเป็นเวลา 7 วัน และประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh