โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs
ที่อยู่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3059-2-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3059-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น จากการสำรวจภาวะสุขภาพของประเทศครั้งที่ 5 ปี 2557 พบความชุกผู้ป่วยเบาหวาน 8.8 % และพบผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่มี HbA1C > 7 % ปัญหาที่ทำให้ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ มักอยู่ที่พฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารคาร์โบไฮเดรต ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมาก และมีความจำเป็นมากที่ผู้ป่วยจะต้องเรียนรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้หรือผู้ที่ฉีดอินซูลิน ได้มีการนำเสนอรูปแบบของสัดส่วนอาหารคาร์โบไฮเดรตหลายวิธี เพื่อสื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานเข้าใจและสามารถนับปริมาณอาหารคาร์โบไฮเดรตที่รับประทาน มีทั้งเป็นรูปภาพ โมเดล และการแสดงของจริง ซึ่งก็สามารถทำให้ผู้ป่วยและผู้ให้ความรู้โรคเบาหวานมีความเข้าใจการนับปริมาณคาร์โบไฮเดรตมากขึ้น
อาหารเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิต และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนมีสุขภาพดีหรือเจ็บป่วยได้ นอกจากนี้ ยังใช้อาหารเป็นส่วนหนึ่งของการป้องกันหรือรักษาบำบัดโรค ดังนั้น ทุกคนควรมีความรู้เรื่องอาหารให้มากพอที่จะนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว หากสามารถให้คำแนะนำหรือชี้นำให้คนรอบข้างปฏิบัติได้ด้วย จะเป็นวิทยาทานที่เกิดประโยชน์ในวงกว้าง เพราะทำให้ประเทศไทยมีประชากรที่สุขภาพดี มีคนเจ็บป่วยน้อยลง สารอาหารที่เรียกว่า “คาร์โบไฮเดรต” หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “คาร์บ” คือกลุ่ม“ข้าวแป้ง” เป็นสารตั้งต้นพื้นฐานของน้ำตาล “กลูโคส” ที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดและร่างกายนำไปใช้เป็นพลังงานได้ง่าย เป็นสารอาหารที่ในแต่ละวันคนส่วนใหญ่บริโภคในปริมาณมากกว่าสารอาหารอื่น ๆ และมีโอกาสสูงที่จะบริโภคมากเกินจนส่งผลกระทบต่อระดับนน้ำตาลในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานและผู้ที่เสี่ยงจะเป็นโรคเบาหวาน
การเข้าใจ “คาร์บ” มากขึ้น รู้ว่ามีอยู่ในอาหารชนิดใดบ้าง มีหน่วยนับและวิธีนับอย่างไร เลือกบริโภคอย่างไรให้ถูกต้องในปริมาณที่เหมาะสมจะทำให้การควบคุมเบาหวานดีขึ้นจากสมดุลของอาหารกับยา สำหรับผู้ที่เสี่ยงจะเป็นโรคเบาหวานสามารถป้องกันหรือยับยั้งไม่ให้เป็นโรคได้ อีกทั้งใช้ประโยชน์ในการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับคนทั่วไปด้วย
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข จึงมีแผนการจัดการสุขภาพในพื้นที่เพื่อประชาชนในชุมชน ได้ห่างไกลโรค NCDs นั้น จึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจ และนำมาปฏิบัติตนเองในชีวิตประจำวันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค
- แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิกกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. ผลงานการดำเนินงาน อสม.ชวนนับคาร์บ ร้อยละ 80
2. ประชาชนกลุ่มโรค กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาเองได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3059-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3059-2-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3059-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยมีจำนวนมากขึ้น จากการสำรวจภาวะสุขภาพของประเทศครั้งที่ 5 ปี 2557 พบความชุกผู้ป่วยเบาหวาน 8.8 % และพบผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่มี HbA1C > 7 % ปัญหาที่ทำให้ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ มักอยู่ที่พฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารคาร์โบไฮเดรต ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมาก และมีความจำเป็นมากที่ผู้ป่วยจะต้องเรียนรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้หรือผู้ที่ฉีดอินซูลิน ได้มีการนำเสนอรูปแบบของสัดส่วนอาหารคาร์โบไฮเดรตหลายวิธี เพื่อสื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานเข้าใจและสามารถนับปริมาณอาหารคาร์โบไฮเดรตที่รับประทาน มีทั้งเป็นรูปภาพ โมเดล และการแสดงของจริง ซึ่งก็สามารถทำให้ผู้ป่วยและผู้ให้ความรู้โรคเบาหวานมีความเข้าใจการนับปริมาณคาร์โบไฮเดรตมากขึ้น
อาหารเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิต และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนมีสุขภาพดีหรือเจ็บป่วยได้ นอกจากนี้ ยังใช้อาหารเป็นส่วนหนึ่งของการป้องกันหรือรักษาบำบัดโรค ดังนั้น ทุกคนควรมีความรู้เรื่องอาหารให้มากพอที่จะนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว หากสามารถให้คำแนะนำหรือชี้นำให้คนรอบข้างปฏิบัติได้ด้วย จะเป็นวิทยาทานที่เกิดประโยชน์ในวงกว้าง เพราะทำให้ประเทศไทยมีประชากรที่สุขภาพดี มีคนเจ็บป่วยน้อยลง สารอาหารที่เรียกว่า “คาร์โบไฮเดรต” หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “คาร์บ” คือกลุ่ม“ข้าวแป้ง” เป็นสารตั้งต้นพื้นฐานของน้ำตาล “กลูโคส” ที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดและร่างกายนำไปใช้เป็นพลังงานได้ง่าย เป็นสารอาหารที่ในแต่ละวันคนส่วนใหญ่บริโภคในปริมาณมากกว่าสารอาหารอื่น ๆ และมีโอกาสสูงที่จะบริโภคมากเกินจนส่งผลกระทบต่อระดับนน้ำตาลในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานและผู้ที่เสี่ยงจะเป็นโรคเบาหวาน
การเข้าใจ “คาร์บ” มากขึ้น รู้ว่ามีอยู่ในอาหารชนิดใดบ้าง มีหน่วยนับและวิธีนับอย่างไร เลือกบริโภคอย่างไรให้ถูกต้องในปริมาณที่เหมาะสมจะทำให้การควบคุมเบาหวานดีขึ้นจากสมดุลของอาหารกับยา สำหรับผู้ที่เสี่ยงจะเป็นโรคเบาหวานสามารถป้องกันหรือยับยั้งไม่ให้เป็นโรคได้ อีกทั้งใช้ประโยชน์ในการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับคนทั่วไปด้วย
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข จึงมีแผนการจัดการสุขภาพในพื้นที่เพื่อประชาชนในชุมชน ได้ห่างไกลโรค NCDs นั้น จึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจ และนำมาปฏิบัติตนเองในชีวิตประจำวันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 90 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค
- แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิกกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 1. ผลงานการดำเนินงาน อสม.ชวนนับคาร์บ ร้อยละ 80 2. ประชาชนกลุ่มโรค กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาเองได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 90 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ชวนนับคาร์บห่างไกลโรค NCDs จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3059-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......