โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน ”
ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุธานี สาแล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน
ที่อยู่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4118-01 เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4118-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้จัดตั้งระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินขึ้นในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ระบบ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency medical system= EMS) หมายถึง ระบบบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและผู้ป่วย เจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้การดูแลประปฐมพยาบาล ทั้งนอกโรงพยาบาลและในโรงพยาบาลประเทศไทย มีข้อมูลการใช้บริการห้องฉุกเฉิน จำนวนประมาณ ๑๒ ล้านครั้งต่อปี มีผู้ป่วยวิกฤติและเร่งด่วนประมาณ ร้อยละ ๓๐ ที่จำเป็นต้องได้รับบริการ การแพทย์ฉุกเฉินและเสียชีวิตนอกโรงพยาบาลประมาณ ๖๐,๐๐๐ คน หากมีระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มี ประสิทธิภาพจะช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินดังกล่าวได้ถึงปีละ ๙,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ คน สาเหตุที่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ไม่ได้รับการ รักษาที่ถูกต้องและทันเวลา เพราะมีระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ด้อยประสิทธิภาพไม่ครอบคลุมผู้ป่วยทุกคนและ ทุกพื้นที่ขาดระบบที่เข้าถึงได้ง่าย การช่วย ณ จุดเกิดเหตุยังด้อยคุณภาพซึ่งทำให้ผู้ป่วยพิการและเสียชีวิตโดยไม่จำเป็น
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต งานบริการสาธารณสุขและงานสาธารณสุขอื่น ได้เล้งเห็น ความสำคัญของการบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยเฉพาะด้านทักษะการกู้ชีพของอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ตำบลคีรีเขต ยังขาดองค์ความรู้ที่ถูกวิธีและการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ทั่วทุกพื้นที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ผู้เจ็บป่วยปลอดภัยตลอด ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายระบบ บริการการแพทย์ฉุกเฉินตลอดจนบุคลากรและอาสาสมัครกู้ชีพ ที่สามารถให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในหน่วยบริการ ระดับพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องรวดเร็ว และปลอดภัยตลอด ๒๔ ชั่วโมง และสร้างภาคีเครือข่ายในการ ดำเนินการด้านการแพทย์ฉุกเฉินในหมู่บ้าน จากความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมให้ความรู้การใช้ อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน องค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต มีจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นใหม่เพิ่มขึ้น
๒. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๓. สามารถเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐมพยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้แก่ เครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉินรุ่นใหม่ และเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
๔. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและให้ข้อมูลกับสถานบริการสาธารณสุขได้ ถูกต้องครบถ้วน ตามความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน
๕. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป สามารถพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และเตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ
๑. ประชาชนที่มีจิตอาสา ๒๕ คน
๒. เครือข่ายอาสาสมัคร ๑๓ คน
เชิงคุณภาพ
๑. ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มี ความรู้และทักษะในการปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน และ สามารถช่วยเหลือและปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูงบางประการที่ เกี่ยวข้องได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตามอำนาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และ ข้อจำกัดในการปฏิบัติการ ฉุกเฉินตาม คำสั่งการแพทย์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
38
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4118-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุธานี สาแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน ”
ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุธานี สาแล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4118-01 เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4118-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้จัดตั้งระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินขึ้นในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ระบบ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency medical system= EMS) หมายถึง ระบบบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและผู้ป่วย เจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้การดูแลประปฐมพยาบาล ทั้งนอกโรงพยาบาลและในโรงพยาบาลประเทศไทย มีข้อมูลการใช้บริการห้องฉุกเฉิน จำนวนประมาณ ๑๒ ล้านครั้งต่อปี มีผู้ป่วยวิกฤติและเร่งด่วนประมาณ ร้อยละ ๓๐ ที่จำเป็นต้องได้รับบริการ การแพทย์ฉุกเฉินและเสียชีวิตนอกโรงพยาบาลประมาณ ๖๐,๐๐๐ คน หากมีระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มี ประสิทธิภาพจะช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินดังกล่าวได้ถึงปีละ ๙,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ คน สาเหตุที่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ไม่ได้รับการ รักษาที่ถูกต้องและทันเวลา เพราะมีระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ด้อยประสิทธิภาพไม่ครอบคลุมผู้ป่วยทุกคนและ ทุกพื้นที่ขาดระบบที่เข้าถึงได้ง่าย การช่วย ณ จุดเกิดเหตุยังด้อยคุณภาพซึ่งทำให้ผู้ป่วยพิการและเสียชีวิตโดยไม่จำเป็น สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต งานบริการสาธารณสุขและงานสาธารณสุขอื่น ได้เล้งเห็น ความสำคัญของการบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยเฉพาะด้านทักษะการกู้ชีพของอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ตำบลคีรีเขต ยังขาดองค์ความรู้ที่ถูกวิธีและการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ทั่วทุกพื้นที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ผู้เจ็บป่วยปลอดภัยตลอด ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายระบบ บริการการแพทย์ฉุกเฉินตลอดจนบุคลากรและอาสาสมัครกู้ชีพ ที่สามารถให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในหน่วยบริการ ระดับพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องรวดเร็ว และปลอดภัยตลอด ๒๔ ชั่วโมง และสร้างภาคีเครือข่ายในการ ดำเนินการด้านการแพทย์ฉุกเฉินในหมู่บ้าน จากความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมให้ความรู้การใช้ อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน องค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต มีจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นใหม่เพิ่มขึ้น ๒. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. สามารถเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐมพยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้แก่ เครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉินรุ่นใหม่ และเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและให้ข้อมูลกับสถานบริการสาธารณสุขได้ ถูกต้องครบถ้วน ตามความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน ๕. เครือข่ายอาสาสมัคร ประชาชนทั่วไป สามารถพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และเตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ ๑. ประชาชนที่มีจิตอาสา ๒๕ คน ๒. เครือข่ายอาสาสมัคร ๑๓ คน เชิงคุณภาพ ๑. ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มี ความรู้และทักษะในการปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน และ สามารถช่วยเหลือและปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูงบางประการที่ เกี่ยวข้องได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตามอำนาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และ ข้อจำกัดในการปฏิบัติการ ฉุกเฉินตาม คำสั่งการแพทย์ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 38 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกเครือข่ายอาสาสมัครฉุกเฉิน การแพทย์รุ่นใหม่ ๒. เพื่อให้ประชาชนที่มีจิตอาสา และเครือข่ายอาสาสมัคร มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล และการปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการปฐม พยาบาลขั้นพื้นฐาน ให้อาสาฉุกเฉินรุ่นใหม่ อีกทั้งเพื่อ เป็นการเตรียม พื้นฐานเข้าสู่การปฏิบัติจริงอย่าง ถูกต้องตามกระบวนการงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ สามารถประสานงาน แจ้งเหตุและข้อมูลให้กับสถาน บริการ สาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วนตาม ความก้าวหน้าของระบบสารสนเทศ การแพทย์ฉุกเฉิน ๔. เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และ เตรียมความพร้อมใน การเผชิญเหตุและช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ ปลอดภัย ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมทบทวนให้ความรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินและสร้างภาคีเครือข่ายในหมู่บ้าน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4118-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุธานี สาแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......