โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายกเทศมนตรเมืองเบตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เราทุกคนมีโอกาสเผชิญกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่กำลังหรือมีโอกาสคุกคามชีวิตได้ตลอดเวลา หากมีความรู้ความสามารถและทักษะในการประเมิน วินิจฉัยและจัดการช่วยฟื้นคืนชีพกับภาวะฉุกเฉินได้อย่าง รวดเร็วภายใน 3 - 5 นาที หลังจากที่ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บเกิดอาการควบคู่กับการดูแลผู้ป่วยที่ชีพจรฟื้น กลับมาอย่างเหมาะสม อาจเพิ่มโอกาสรอดชีวิตและปลอดจากความพิการได้ถึงร้อยละ 50 - 70 แต่หากเกิด ความล่าช้าโอกาสรอดชีวิตอาจลดลงร้อยละ 10 - 20 ต่อ 1 นาที ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่าง ทันท่วงทีด้วยวิธีที่ถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ซึ่งปัจจุบัน ความรู้ใหม่ที่เป็น Evidenced based ด้านการช่วยฟื้นชีวิตได้มีการพัฒนาก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งใน ด้านการประเมิน การแก้ไขและการช่วยเหลือผู้ป่วย ต้องตระหนักเห็นความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของ ความรู้ความสามารถในการช่วยฟื้นชีวิตที่นำสมัย จากข้อมูลจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พบว่าระหว่างปีงบประมาณ 2560-2567 มีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จาก 224,514 ราย เพิ่มเป็น 384,428 ราย สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานการศึกษาสาเหตุการตายประชากรไทย ปี 2566-2567 ของสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ พบว่า มีการตายนอกโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคเจ็บป่วยฉุกเฉินร้อยละ 17 ของการตายประชากรไทย (ประมาณ 84,000 คน) ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 และ โรงพยาบาลเบตง จากจำนวนผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน มารับการรักษา ณ หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน รพ.เบตง ปี 2567 จำนวน 22,972 ราย มีผู้ป่วยมารับการรักษา ด้วยภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ด้วยสาเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเสียชีวิต จำนวน 142 คน อุบัติเหตุพลัดตกหรือหกล้ม จำนวน 1,314 คน อุบัติเหตุสัมผัสกับแรงเชิงกลของวัตถุสิ่งของ จำนวน 142 คน อุบัติเหตุที่คุกคามการหายใจ 8 คน (ข้อมูลจากงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเบตง)
งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง เล็งเห็นถึง ความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดให้มีการอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) โดยจัดในกลุ่มเป้าหมาย พนักงานเทศบาลเมืองเบตง เป็นปีแรก ซึ่งเป็นหลักสูตรที่อิงมาตรฐานสากลปี 2019 ของสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาและ สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ที่มีรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะกับ สถานการณ์จำลองกับหุ่นสาธิต รวมทั้งความรู้ใหม่ด้านการช่วยฟื้นคืนชีพที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้ อย่างถูกต้อง ปลอดภัย ก่อนทีมบุคลากรทางการแพทย์จะมาถึงหรือก่อนส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง ซึ่งศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองเบตง มีเครื่อง AED จำนวน 3 เครื่อง โดยกำหนดจุดบริการ 3 จุด คือศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองเบตง(หลังเดิม) สนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเบตงและ ตลาสดเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งสถานที่ดังกล่าวเป็นพื้นเปิดโล่งเพื่อให้ทุกคนเข้าถึงเครื่องมือดังกล่าวได้จึงจำเป็นต้องมีตู้สำหรับตั้งวางเครื่อง“AED” และคำอธิบายการใช้งาน จึงจำเป็นต้องจัดซื้อตู้จัดเก็บจำนวน 3 ตู้ หลายท่านอาจเคยเห็นตู้ใส่อุปกรณ์ที่มีสัญลักษณ์รูปหัวใจสีแดงมีสายฟ้าผ่าอยู่ตรงกลาง พร้อมมีตัวหนังสือเขียนว่า “AED” อยู่ด้านบน ตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น สถานีรถไฟฟ้า หรือ ตามห้างสรรพสินค้า ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวมีความสำคัญอย่างมากในการช่วยชีวิตในกรณีฉุกเฉิน พร้อมทั้งช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตแก่ผู้มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้อย่างมาก เครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) หรือ เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ชนิดพกพาใช้ร่วมกับการช่วยคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) สามารถอ่านเเละวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจได้อย่างแม่นยำ ใช้ในการช่วยเหลือผู้ที่มี “ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Cardiac Arrest)” เเละสามารถทำการรักษาด้วยการช็อกไฟฟ้าเพื่อหยุดรูปแบบการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติอีกครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน
- เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- แกนนำบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน
- มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน (3) เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกเทศมนตรเมืองเบตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายกเทศมนตรเมืองเบตง
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เราทุกคนมีโอกาสเผชิญกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่กำลังหรือมีโอกาสคุกคามชีวิตได้ตลอดเวลา หากมีความรู้ความสามารถและทักษะในการประเมิน วินิจฉัยและจัดการช่วยฟื้นคืนชีพกับภาวะฉุกเฉินได้อย่าง รวดเร็วภายใน 3 - 5 นาที หลังจากที่ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บเกิดอาการควบคู่กับการดูแลผู้ป่วยที่ชีพจรฟื้น กลับมาอย่างเหมาะสม อาจเพิ่มโอกาสรอดชีวิตและปลอดจากความพิการได้ถึงร้อยละ 50 - 70 แต่หากเกิด ความล่าช้าโอกาสรอดชีวิตอาจลดลงร้อยละ 10 - 20 ต่อ 1 นาที ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่าง ทันท่วงทีด้วยวิธีที่ถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ซึ่งปัจจุบัน ความรู้ใหม่ที่เป็น Evidenced based ด้านการช่วยฟื้นชีวิตได้มีการพัฒนาก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งใน ด้านการประเมิน การแก้ไขและการช่วยเหลือผู้ป่วย ต้องตระหนักเห็นความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของ ความรู้ความสามารถในการช่วยฟื้นชีวิตที่นำสมัย จากข้อมูลจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พบว่าระหว่างปีงบประมาณ 2560-2567 มีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จาก 224,514 ราย เพิ่มเป็น 384,428 ราย สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานการศึกษาสาเหตุการตายประชากรไทย ปี 2566-2567 ของสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ พบว่า มีการตายนอกโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคเจ็บป่วยฉุกเฉินร้อยละ 17 ของการตายประชากรไทย (ประมาณ 84,000 คน) ด้วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 และ โรงพยาบาลเบตง จากจำนวนผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน มารับการรักษา ณ หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน รพ.เบตง ปี 2567 จำนวน 22,972 ราย มีผู้ป่วยมารับการรักษา ด้วยภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ด้วยสาเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเสียชีวิต จำนวน 142 คน อุบัติเหตุพลัดตกหรือหกล้ม จำนวน 1,314 คน อุบัติเหตุสัมผัสกับแรงเชิงกลของวัตถุสิ่งของ จำนวน 142 คน อุบัติเหตุที่คุกคามการหายใจ 8 คน (ข้อมูลจากงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเบตง)
งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง เล็งเห็นถึง ความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดให้มีการอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) โดยจัดในกลุ่มเป้าหมาย พนักงานเทศบาลเมืองเบตง เป็นปีแรก ซึ่งเป็นหลักสูตรที่อิงมาตรฐานสากลปี 2019 ของสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาและ สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ที่มีรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะกับ สถานการณ์จำลองกับหุ่นสาธิต รวมทั้งความรู้ใหม่ด้านการช่วยฟื้นคืนชีพที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้ อย่างถูกต้อง ปลอดภัย ก่อนทีมบุคลากรทางการแพทย์จะมาถึงหรือก่อนส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง ซึ่งศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองเบตง มีเครื่อง AED จำนวน 3 เครื่อง โดยกำหนดจุดบริการ 3 จุด คือศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองเบตง(หลังเดิม) สนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเบตงและ ตลาสดเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งสถานที่ดังกล่าวเป็นพื้นเปิดโล่งเพื่อให้ทุกคนเข้าถึงเครื่องมือดังกล่าวได้จึงจำเป็นต้องมีตู้สำหรับตั้งวางเครื่อง“AED” และคำอธิบายการใช้งาน จึงจำเป็นต้องจัดซื้อตู้จัดเก็บจำนวน 3 ตู้ หลายท่านอาจเคยเห็นตู้ใส่อุปกรณ์ที่มีสัญลักษณ์รูปหัวใจสีแดงมีสายฟ้าผ่าอยู่ตรงกลาง พร้อมมีตัวหนังสือเขียนว่า “AED” อยู่ด้านบน ตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น สถานีรถไฟฟ้า หรือ ตามห้างสรรพสินค้า ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวมีความสำคัญอย่างมากในการช่วยชีวิตในกรณีฉุกเฉิน พร้อมทั้งช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตแก่ผู้มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้อย่างมาก เครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) หรือ เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ชนิดพกพาใช้ร่วมกับการช่วยคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) สามารถอ่านเเละวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจได้อย่างแม่นยำ ใช้ในการช่วยเหลือผู้ที่มี “ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Cardiac Arrest)” เเละสามารถทำการรักษาด้วยการช็อกไฟฟ้าเพื่อหยุดรูปแบบการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติอีกครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน
- เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- แกนนำบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน
- มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพและบุคลากรสังกัดเทศบาลเมืองเบตง มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐาน (3) เพื่อให้มีจุดติดตั้งเครื่อง AED ( Automatic External Defibrillator ) ให้บริการประชาชนในภาวะฉุกเฉิน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฝ่ามือฟื้นชีวา CPR พาชีวิตรอด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกเทศมนตรเมืองเบตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......