โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายกเทศมนตรีเมืองเบตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์ เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เป็นวิธีดูแลสุขภาพครรภ์ของคุณแม่และลูกน้อยไม่ว่าจะเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรกหรือเคยผ่านการตั้งครรภ์มาแล้ว การฝากครรภ์นับว่าเป็นกระบวนการสำคัญที่หญิงตั้งครรภ์ทุกคนไม่ควรมองข้าม และควรเริ่มฝากครรภ์ตั้งแต่รู้ตัวว่ามีการตั้งครรภ์ หรืออายุครรภ์ไม่ควรเกิน 12 สัปดาห์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพแข็งแรง และลดการคลอดก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์มีโอกาสเสียชีวิตสูง รวมถึงยังมีโอกาสพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดทำงานไม่ดี มีภาวะเลือดออกในสมอง มีภาวะเลือดออกในลำไส้ ส่งผลให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า หากทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัว และภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแล รักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี จากการทำวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนทีปังกรนภัทรบุตร พบว่า ประมาณร้อยละ 50 - 60 ของการคลอดก่อนกำหนดเกิดขึ้นในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีโรค หรือ ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ บางคนเกิดจากพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เหล่านั้น ยังขาดความรู้เรื่อง
การป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอดก่อนกำหนด จึงเข้ามารับการรักษาล่าช้าเป็นเหตุให้การยับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไม่ประสบผลสำเร็จ
กระทรวงมหาดไทยร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สนามมกุฎราชกุมาร ได้ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด กระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สนามมกุฎราชกุมาร โดยมีเป้าหมายเพื่อ “ลดอัตราคลอดก่อนกำหนด” ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567-2570 ร้อยละ 8 จึงขอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการดังกล่าว
สำหรับในเขตเทศบาลเมืองเบตงมีหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในปีงบประมาณ 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 171 คน โดยหญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด(ก่อน 37 สัปดาห์) จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 ซึ่งต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ในเขตเทศบาลเมืองเบตงขึ้น เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด ด้วยการอบรมทักษะให้กับแกนนำสุขภาพที่สามารถให้คำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และบอกต่อบุคคลใกล้ตัวในชุมชนให้ไปพบแพทย์ทันทีเมื่อเกิดการตั้งครรภ์ ส่งผลให้สามารถรักษาภาวะคลอดก่อนกำหนดได้อย่างรวดเร็วและเพื่อเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 แกนนำสุขภาพที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
3. อัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงเป็นไปตามเป้าหมายของกระทรวงมหาดไทย ไม่เกินร้อยละ 8
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
3
เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง
ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงเป็นไปตามเป้าหมายของกระทรวงมหาดไทย ไม่เกินร้อยละ 8
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกเทศมนตรีเมืองเบตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายกเทศมนตรีเมืองเบตง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์ เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เป็นวิธีดูแลสุขภาพครรภ์ของคุณแม่และลูกน้อยไม่ว่าจะเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรกหรือเคยผ่านการตั้งครรภ์มาแล้ว การฝากครรภ์นับว่าเป็นกระบวนการสำคัญที่หญิงตั้งครรภ์ทุกคนไม่ควรมองข้าม และควรเริ่มฝากครรภ์ตั้งแต่รู้ตัวว่ามีการตั้งครรภ์ หรืออายุครรภ์ไม่ควรเกิน 12 สัปดาห์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพแข็งแรง และลดการคลอดก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์มีโอกาสเสียชีวิตสูง รวมถึงยังมีโอกาสพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดทำงานไม่ดี มีภาวะเลือดออกในสมอง มีภาวะเลือดออกในลำไส้ ส่งผลให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า หากทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัว และภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแล รักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี จากการทำวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนทีปังกรนภัทรบุตร พบว่า ประมาณร้อยละ 50 - 60 ของการคลอดก่อนกำหนดเกิดขึ้นในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีโรค หรือ ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ บางคนเกิดจากพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เหล่านั้น ยังขาดความรู้เรื่อง
การป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอดก่อนกำหนด จึงเข้ามารับการรักษาล่าช้าเป็นเหตุให้การยับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไม่ประสบผลสำเร็จ
กระทรวงมหาดไทยร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สนามมกุฎราชกุมาร ได้ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด กระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สนามมกุฎราชกุมาร โดยมีเป้าหมายเพื่อ “ลดอัตราคลอดก่อนกำหนด” ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567-2570 ร้อยละ 8 จึงขอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการดังกล่าว
สำหรับในเขตเทศบาลเมืองเบตงมีหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในปีงบประมาณ 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 171 คน โดยหญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด(ก่อน 37 สัปดาห์) จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 ซึ่งต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ในเขตเทศบาลเมืองเบตงขึ้น เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด ด้วยการอบรมทักษะให้กับแกนนำสุขภาพที่สามารถให้คำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และบอกต่อบุคคลใกล้ตัวในชุมชนให้ไปพบแพทย์ทันทีเมื่อเกิดการตั้งครรภ์ ส่งผลให้สามารถรักษาภาวะคลอดก่อนกำหนดได้อย่างรวดเร็วและเพื่อเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 แกนนำสุขภาพที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม 3. อัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงเป็นไปตามเป้าหมายของกระทรวงมหาดไทย ไม่เกินร้อยละ 8
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด |
|
|||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตงเป็นไปตามเป้าหมายของกระทรวงมหาดไทย ไม่เกินร้อยละ 8 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจากแกนนำสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในเขตเทศบาลเมืองเบตง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกเทศมนตรีเมืองเบตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......