โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
ตุลาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันคนไทยนิยมการออกกำลังกายมากขึ้น คนไทยมีความคุ้นเคยกับคำว่า” ออกกำลังกาย “มายาวนาน โดยนิยามของการออกกำลังกาย คือการกระทำใดๆ ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย แบบซ้ำๆ มีการ วางแผนเป็นแบบแผนและมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน เพื่อสังคม โดยใช้กิจกรรม ง่ายๆ หรือกติกาการแข่งขันง่ายๆ เช่น การเดิน การวิ่ง การเต้น ฯลฯ และในปัจจุบันประเทศไทยได้สนับสนุนการ ออกกำลังกายโดยการจัดกิจกรรมทางกายที่กว้างขวางกว่าการออกกำลังกาย กล่าวคือ การขยับร่างกายทั้งหมดใน ชีวิตประจำวันในอิริยาบถต่างๆ ซึ่งก่อการใช้และการเผาผลาญพลังงานและเสริมสร้างกล้ามเนื้อ
ปัจจุบันภาวะเศรษฐกิจ และสังคมเมืองเบตงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวัน มีการแข่งขันทางการทำงานมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากเช่นกัน การเร่งรีบไปทำงาน บริโภค อาหารที่สะดวกรวดเร็วโดยไม่คำนึงถึงโภชนาการอาหารที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ประกอบกับการเคลื่อนไหวทาง ร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เกิดความเครียดปัจจัยเหล่านี้มีโอกาสเสี่ยง ความเครียดสะสม จากการทํางานก่อให้เกิด ความไม่สบายร่างกายและจิตใจ สิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมสถานที่ ทำงานโดยให้มีกิจกรรมออกกำลังกายสม่ำเสมอและถูกต้อง กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แตนซ์ จึงมีแนวคิดที่จะจัด กิจกรรมออกกำลังกายแบบบาสโลบ ซึ่งบาสโลบเป็นการเต้น ทุกคนจะยืนตั้งแถวเป็นหน้ากระดานหรือแถวตอนมี หนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน คือ ทุกทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะอย่างพร้อมเพรียงกัน ขยับไป ซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง จึงถือว่าเป็นการเต้นที่เป็นเอกลักษณ์ที่มีมีการสร้างสรรค์ท่าเต้นให้ เข้ากับยุคสมัยและวัฒนธรรมประเพณีประชาชนทุกวัยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ และสามารถใช้เวลาเวลาว่างหลัง เลิกงานในการจัดทำกิจกรรม โดยคิดว่าผลการออกกำลังกายจะทำให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยัง สามารถสร้างความสามัคคีและความผูกพันของคนในชุมชนได้ รวมถึงการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริม ให้ประชาชนในประเทศเพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของประชาชน กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ สมาชิกในกลุ่มบางคนซึ่งอยู่ในวัยทำงานและวัยเกษียณ อาจมีความอ่อนล้าในการ ทำงานที่ทำอยู่เป็นประจำ บางครั้งมีอาการเครียดจากงานที่ทำร่วมกับปัญหาทางบ้าน สมาชิกวัยเกษียณเคยทำงาน ว่างเว้นจากงานที่เคยทำต้องอยู่บ้านไม่ได้ออกไปไหนพบปะเพื่อนฝูงน้อยลง ทำให้เกิดภาวะความจำเสื่อม หลงลืม และนอนไม่หลับ สมาชิกกลุ่มเล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพของสมาชิกและเพื่อให้สมาชิกได้ฝึกสมาธิ กล้ามเนื้อสนุกสนาน เพลิดเพลิน การดูแลซึ่งกันและกันผลปรากฏว่าสมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความสุขกาย สบายใจ ลดอาการนอนไม่หลับ หลับลึกความจำและการหลงลืมดีขึ้น จากการพบปะและออกกำลังกายร่วมกัน ชีวีมีสุขมาก
ขึ้น มีความคล่องตัวว่องไวขึ้นโดยรวมทุกคนที่ร่วมกันออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจดีขึ้น ดังนั้น กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง จึงได้ จัดทำโครงการสุขกายสบายใจ ชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
- เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
- เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายมีการออกกำลังกายอย่างอย่างต่อเนื่อง
2. ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
3. กลุ่มบาสโสบไลน์แดนซ์สามารถเป็นต้นแบบในการส่งเสริมการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ (2) เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานกลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์
ตุลาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันคนไทยนิยมการออกกำลังกายมากขึ้น คนไทยมีความคุ้นเคยกับคำว่า” ออกกำลังกาย “มายาวนาน โดยนิยามของการออกกำลังกาย คือการกระทำใดๆ ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย แบบซ้ำๆ มีการ วางแผนเป็นแบบแผนและมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน เพื่อสังคม โดยใช้กิจกรรม ง่ายๆ หรือกติกาการแข่งขันง่ายๆ เช่น การเดิน การวิ่ง การเต้น ฯลฯ และในปัจจุบันประเทศไทยได้สนับสนุนการ ออกกำลังกายโดยการจัดกิจกรรมทางกายที่กว้างขวางกว่าการออกกำลังกาย กล่าวคือ การขยับร่างกายทั้งหมดใน ชีวิตประจำวันในอิริยาบถต่างๆ ซึ่งก่อการใช้และการเผาผลาญพลังงานและเสริมสร้างกล้ามเนื้อ
ปัจจุบันภาวะเศรษฐกิจ และสังคมเมืองเบตงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวัน มีการแข่งขันทางการทำงานมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากเช่นกัน การเร่งรีบไปทำงาน บริโภค อาหารที่สะดวกรวดเร็วโดยไม่คำนึงถึงโภชนาการอาหารที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ประกอบกับการเคลื่อนไหวทาง ร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เกิดความเครียดปัจจัยเหล่านี้มีโอกาสเสี่ยง ความเครียดสะสม จากการทํางานก่อให้เกิด ความไม่สบายร่างกายและจิตใจ สิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมสถานที่ ทำงานโดยให้มีกิจกรรมออกกำลังกายสม่ำเสมอและถูกต้อง กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แตนซ์ จึงมีแนวคิดที่จะจัด กิจกรรมออกกำลังกายแบบบาสโลบ ซึ่งบาสโลบเป็นการเต้น ทุกคนจะยืนตั้งแถวเป็นหน้ากระดานหรือแถวตอนมี หนึ่งแถวหรือมากกว่าก็ได้ สิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน คือ ทุกทุกคนจะเต้นเป็นจังหวะอย่างพร้อมเพรียงกัน ขยับไป ซ้ายที ขวาที มีการแตะเท้าเป็นจังหวะตามเพลง จึงถือว่าเป็นการเต้นที่เป็นเอกลักษณ์ที่มีมีการสร้างสรรค์ท่าเต้นให้ เข้ากับยุคสมัยและวัฒนธรรมประเพณีประชาชนทุกวัยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ และสามารถใช้เวลาเวลาว่างหลัง เลิกงานในการจัดทำกิจกรรม โดยคิดว่าผลการออกกำลังกายจะทำให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยัง สามารถสร้างความสามัคคีและความผูกพันของคนในชุมชนได้ รวมถึงการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริม ให้ประชาชนในประเทศเพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของประชาชน กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ สมาชิกในกลุ่มบางคนซึ่งอยู่ในวัยทำงานและวัยเกษียณ อาจมีความอ่อนล้าในการ ทำงานที่ทำอยู่เป็นประจำ บางครั้งมีอาการเครียดจากงานที่ทำร่วมกับปัญหาทางบ้าน สมาชิกวัยเกษียณเคยทำงาน ว่างเว้นจากงานที่เคยทำต้องอยู่บ้านไม่ได้ออกไปไหนพบปะเพื่อนฝูงน้อยลง ทำให้เกิดภาวะความจำเสื่อม หลงลืม และนอนไม่หลับ สมาชิกกลุ่มเล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพของสมาชิกและเพื่อให้สมาชิกได้ฝึกสมาธิ กล้ามเนื้อสนุกสนาน เพลิดเพลิน การดูแลซึ่งกันและกันผลปรากฏว่าสมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่มีความสุขกาย สบายใจ ลดอาการนอนไม่หลับ หลับลึกความจำและการหลงลืมดีขึ้น จากการพบปะและออกกำลังกายร่วมกัน ชีวีมีสุขมาก
ขึ้น มีความคล่องตัวว่องไวขึ้นโดยรวมทุกคนที่ร่วมกันออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจดีขึ้น ดังนั้น กลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง จึงได้ จัดทำโครงการสุขกายสบายใจ ชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
- เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
- เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายมีการออกกำลังกายอย่างอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น 3. กลุ่มบาสโสบไลน์แดนซ์สามารถเป็นต้นแบบในการส่งเสริมการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ (2) เพื่อให้ผู้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อสร้างกลุ่มบาสโลบไลน์แดนซ์เป็นต้นแบบในการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขกายสบายใจชีวีมีสุขด้วยวิถีบาสโลบ ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานกลุ่มเบตงบาสโลบไลน์แดนซ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......