โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-09 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5287-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของบุหรี่ไฟฟ้าในปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของการตลาดจากผู้ผลิตไฟฟ้า เยาวชนวัยรุ่นใช้บุหรี่ไฟฟ้ากลายเป็นเรื่องปกติในบางกลุ่ม เนื่องจากมีตลาดที่มุ่งเป้าหมายสู่กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น เช่น กลิ่นและรสชาติที่หลากหลาย บุหรี่ไฟฟ้ามักถูกซื้อขายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ แม้ว่าจะมีการควบคุมในหลายประเทศไทย บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ปลอดภัยอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ สารเคมีในไอระเหยอาจก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจและหัวใจมีโอกาสสูงทีจะหันไปสูบบุหรี่ธรรมดาหรือสูบบุหรี่มวนในอนาตคืบุหรี่ไฟฟ้ายังถือว่าผิดกฏหมายหากมีการนำเข้ามาขายหรือครอบครอง รัฐบาลพยายามเพิ่มการณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ไฟฟ้า โดยเฉพาะในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย และจากข้อมูลสถิติการบริโภคบุหรี่ไฟฟ้าอำเภอท่าแพจังหวัดสตูล ช่วงเดือนธันวาคม 2566 - พฤษภาคม 2567 มีกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาเฉพาะเด็กและเยาวชน ช่วงอายุ 10 - 24 ปี ที่อาศัยอยู่ในอำเภอท่าแพ จำนวน 492 ราย ซึ่งอยู่ในพื้นที่ตำบลท่าแพ เป็นจำนวน 132 คน คิดเป็นร้อยละ 26.80 มากกว่าตำบลอื่นๆ ในอำเภอท่าแพ ส่วนใหญ่เริ่มใช้บุหรี่ครั้งแรก อายุ 15 ปี อายุที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้าต่ำที่สุดคือ 10 ปี สูงที่สุดคือ 23 ปี อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้าเท่ากับ 19.41 ปี (SD = 3.85) สาเหตุที่เริ่มต้นสูบบุหรี่ไฟฟ้าส่วนใหญ่คืออยาดทกลอง คิดเป็นร้อยละ 79.07 ของผู้ใช้บุหรี่ไฟฟ้า โดยมีแหล่งที่มาของบุหรี่ไฟฟ้ามาจากเพื่อนหรือคนรู้จักให้ร้อยละ 39.60 รองลงมาซื้อจากร้ารค้า ร้อยละ 36.00 และสั่งซื้อจากร้านค้าออนไลน์ ร้อยละ 24 ตามลำดับ
ดังนั้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเยาวชนในเรื่องสารเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า) เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งสามารถดำเนินการได้หลายแนวทางการให้ความรู้ และการสร้างความตะหนักรู้การจัดอบรมให้ข้อมูล ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและผลกระทบของบุหรี่ไฟฟ้าต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจนำไปสู่การใช้สารเสพติด เช่น การปฏิเสธเพื่อที่ชักชวนการตัดสินใจการแก้ไขปัญหาและการปฏิเสธอย่างมั่นใจ ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า) มีการระบาดในทุกพื้นที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงของประเทศชาติ แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้าได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นสังเกตุได้จากจำนวนคดี จำนวนของกลางกลุ่มเครือข่ายและการแพร่ระบาดมีแนวโน้มที่รุนแรงขึ้นทุกด้าน ที่สำคัญมีเด็กเยาวชนเป็นจำนวนมากทีเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดไม่ทางใดก็ทางหนึ่งจึงมีการรณรงค์จากหลายภาคส่วนให้ทุกคนตระหนักถึงความรุนแรงของบุหี่ไฟฟ้าที่ไม่ต่างจากมะเร็งที่กัดกินสังคม ซึ่งทุกคนต้องช่วยกันป้องกันและสอดส่องดูแล สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าแพ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการควันหลงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาวชน (สูบุหรี่ไฟฟ้า เท่ห์กี่โมง
)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
- 2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักเลือกใช้วิถีชีวิตให้ห่างไกลบุหรี่ไฟฟ้า และภูมิใจในสุขภาพของตนเองโดยไม่พึ่งพายาเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า)
- ผู้เจ้า่วมโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายและผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในระยะยาว และสามารถนำข้อมูลไปเผยแพร่ต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีความตระหนักรู้ ความเข้าใจ การป้องกันเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
100.00
2
2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงาร ร้อยละ 100 มีการเลือกวิถีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และมีความภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า (2) 2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-09 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5287-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของบุหรี่ไฟฟ้าในปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของการตลาดจากผู้ผลิตไฟฟ้า เยาวชนวัยรุ่นใช้บุหรี่ไฟฟ้ากลายเป็นเรื่องปกติในบางกลุ่ม เนื่องจากมีตลาดที่มุ่งเป้าหมายสู่กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น เช่น กลิ่นและรสชาติที่หลากหลาย บุหรี่ไฟฟ้ามักถูกซื้อขายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ แม้ว่าจะมีการควบคุมในหลายประเทศไทย บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ปลอดภัยอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ สารเคมีในไอระเหยอาจก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจและหัวใจมีโอกาสสูงทีจะหันไปสูบบุหรี่ธรรมดาหรือสูบบุหรี่มวนในอนาตคืบุหรี่ไฟฟ้ายังถือว่าผิดกฏหมายหากมีการนำเข้ามาขายหรือครอบครอง รัฐบาลพยายามเพิ่มการณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ไฟฟ้า โดยเฉพาะในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย และจากข้อมูลสถิติการบริโภคบุหรี่ไฟฟ้าอำเภอท่าแพจังหวัดสตูล ช่วงเดือนธันวาคม 2566 - พฤษภาคม 2567 มีกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาเฉพาะเด็กและเยาวชน ช่วงอายุ 10 - 24 ปี ที่อาศัยอยู่ในอำเภอท่าแพ จำนวน 492 ราย ซึ่งอยู่ในพื้นที่ตำบลท่าแพ เป็นจำนวน 132 คน คิดเป็นร้อยละ 26.80 มากกว่าตำบลอื่นๆ ในอำเภอท่าแพ ส่วนใหญ่เริ่มใช้บุหรี่ครั้งแรก อายุ 15 ปี อายุที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้าต่ำที่สุดคือ 10 ปี สูงที่สุดคือ 23 ปี อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้าเท่ากับ 19.41 ปี (SD = 3.85) สาเหตุที่เริ่มต้นสูบบุหรี่ไฟฟ้าส่วนใหญ่คืออยาดทกลอง คิดเป็นร้อยละ 79.07 ของผู้ใช้บุหรี่ไฟฟ้า โดยมีแหล่งที่มาของบุหรี่ไฟฟ้ามาจากเพื่อนหรือคนรู้จักให้ร้อยละ 39.60 รองลงมาซื้อจากร้ารค้า ร้อยละ 36.00 และสั่งซื้อจากร้านค้าออนไลน์ ร้อยละ 24 ตามลำดับ
ดังนั้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเยาวชนในเรื่องสารเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า) เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งสามารถดำเนินการได้หลายแนวทางการให้ความรู้ และการสร้างความตะหนักรู้การจัดอบรมให้ข้อมูล ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและผลกระทบของบุหรี่ไฟฟ้าต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจนำไปสู่การใช้สารเสพติด เช่น การปฏิเสธเพื่อที่ชักชวนการตัดสินใจการแก้ไขปัญหาและการปฏิเสธอย่างมั่นใจ ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า) มีการระบาดในทุกพื้นที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงของประเทศชาติ แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้าได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นสังเกตุได้จากจำนวนคดี จำนวนของกลางกลุ่มเครือข่ายและการแพร่ระบาดมีแนวโน้มที่รุนแรงขึ้นทุกด้าน ที่สำคัญมีเด็กเยาวชนเป็นจำนวนมากทีเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดไม่ทางใดก็ทางหนึ่งจึงมีการรณรงค์จากหลายภาคส่วนให้ทุกคนตระหนักถึงความรุนแรงของบุหี่ไฟฟ้าที่ไม่ต่างจากมะเร็งที่กัดกินสังคม ซึ่งทุกคนต้องช่วยกันป้องกันและสอดส่องดูแล สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าแพ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการควันหลงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาวชน (สูบุหรี่ไฟฟ้า เท่ห์กี่โมง
)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
- 2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักเลือกใช้วิถีชีวิตให้ห่างไกลบุหรี่ไฟฟ้า และภูมิใจในสุขภาพของตนเองโดยไม่พึ่งพายาเสพติด (บุหรี่ไฟฟ้า)
- ผู้เจ้า่วมโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายและผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในระยะยาว และสามารถนำข้อมูลไปเผยแพร่ต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีความตระหนักรู้ ความเข้าใจ การป้องกันเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า |
100.00 |
|
||
2 | 2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงาร ร้อยละ 100 มีการเลือกวิถีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และมีความภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจ ให้กับเด็กและเยาวชนภายในตำบลท่าแพ รู้จักวิธีการป้องกัน เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า (2) 2. เพื่ิอกระตุ้นให้เด็กเยาวชน มีการเลือกวิถึชีชีวิตที่ปลอดบุหรี่และสร้างความภาคภูมิใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควันลวงบุหรี่ไฟฟ้า เสน่ห์อันตรายในมือเยาชน (สูบบุหรี่ไฟฟ้า เทห์กี่โมง) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......