โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 ”
ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางซูไฮบะห์ เจะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริม สนับสนุน และปกป้องให้เด็กทุกคนได้กินนมแม่อย่างเต็มที่ตามคำแนะนำขององค์กรอนามัยโลก (WHO) ว่า “เด็กตั้งแต่แรกเกิด – 6 เดือน ควรได้รับนมแม่อย่างเดียวและกินนมแม่ควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึงอายุ 2 ปี หรือมากกว่านั้น” ประเทศไทยจึงได้ตั้งเป้าหมายในปี 2568 ได้ว่า “ร้อยละของเด็กแรกเกิด – 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 50” ซึ่งในสถานการณ์ของประเทศไทยปัจจุบันนั้นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน มีเพียงร้อยละ 14 ซึ่งยังต่ำกว่าตราเฉลี่ยทั่วโลก และต่ำที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สาธิต, 2564) และจากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านรังมดแดง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีเพียงร้อยละ ๕๔.5๕ เท่านั้น ซึ่งยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทั้งนี้อาจเพราะมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ครอบครัวที่เคยอยู่พร้อมหน้ากัน พ่อ แม่ ลูก และญาติ แม่ต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ลาหลังคลอดไม่ได้ มีความจำเป็นต้องละทิ้งเด็กไว้กับปู่ ย่า ตา ยาย ที่มีประเพณี ความเชื่อ ทัศนคติดั้งเดิม และมีความรู้ไม่เพียงพอ ทำให้เด็กได้รับ นมแม่อย่างเดียวจนอายุ 6 เดือนลดน้อยลง ดังนั้นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำหรับลูก (Good start) เป็นอาหารธรรมชาติ มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและช่วยเพิ่มภูมิต้านทานโรคแก่ทารก และสามารถเสริมสร้างความรัก ความผูกพันระหว่างแม่กับลูก จากการที่แม่ได้สัมผัสลูกแบบเนื้อแนบเนื้อ ทำให้ลูกรู้สึกอบอุ่น มั่นคง ปลอดภัย การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยให้ลดการเสียเลือดหลังคลอดน้อยลง รูปร่างแม่คืนสู่สภาพเดิมได้เร็ว ช่วยให้แม่และลูกไม่เป็นโรคอ้วน หากให้นมแม่เป็นเวลานานจะช่วยป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ นอกจากนี้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผสม และอุปกรณ์ในการชงนม (พรพิมล อาภาสสกุล, 2559) การจัดโครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิตจึงมีเป้าหมายเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้และทัศนคติ เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของนมแม่ ความแตกต่างของนมแม่และนมผสม หลักการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท่าให้นมแม่ที่ถูกต้อง แม่ทำงานสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ และเพิ่มทักษะการนวดเต้านม การบีบเก็บน้ำนม และการนำน้ำนมที่เก็บไว้ออกมาใช้ ซึ่งคาดหวังว่าโครงการนี้จะนำไปสู่ความตั้งใจของหญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัว และสามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 ต่อเนื่องจนถึงอายุ 2 ปี หรือมากกว่านั้น ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อเป็นการสร้างรากฐานที่ดีของชีวิตให้กับหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
36
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงหลังคลอดเข้าใจถึงประโยชน์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ ๘0
- ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ ๖0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
2
2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
36
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
36
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางซูไฮบะห์ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 ”
ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางซูไฮบะห์ เจะมะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริม สนับสนุน และปกป้องให้เด็กทุกคนได้กินนมแม่อย่างเต็มที่ตามคำแนะนำขององค์กรอนามัยโลก (WHO) ว่า “เด็กตั้งแต่แรกเกิด – 6 เดือน ควรได้รับนมแม่อย่างเดียวและกินนมแม่ควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึงอายุ 2 ปี หรือมากกว่านั้น” ประเทศไทยจึงได้ตั้งเป้าหมายในปี 2568 ได้ว่า “ร้อยละของเด็กแรกเกิด – 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 50” ซึ่งในสถานการณ์ของประเทศไทยปัจจุบันนั้นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน มีเพียงร้อยละ 14 ซึ่งยังต่ำกว่าตราเฉลี่ยทั่วโลก และต่ำที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สาธิต, 2564) และจากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านรังมดแดง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีเพียงร้อยละ ๕๔.5๕ เท่านั้น ซึ่งยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทั้งนี้อาจเพราะมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ครอบครัวที่เคยอยู่พร้อมหน้ากัน พ่อ แม่ ลูก และญาติ แม่ต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ลาหลังคลอดไม่ได้ มีความจำเป็นต้องละทิ้งเด็กไว้กับปู่ ย่า ตา ยาย ที่มีประเพณี ความเชื่อ ทัศนคติดั้งเดิม และมีความรู้ไม่เพียงพอ ทำให้เด็กได้รับ นมแม่อย่างเดียวจนอายุ 6 เดือนลดน้อยลง ดังนั้นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำหรับลูก (Good start) เป็นอาหารธรรมชาติ มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและช่วยเพิ่มภูมิต้านทานโรคแก่ทารก และสามารถเสริมสร้างความรัก ความผูกพันระหว่างแม่กับลูก จากการที่แม่ได้สัมผัสลูกแบบเนื้อแนบเนื้อ ทำให้ลูกรู้สึกอบอุ่น มั่นคง ปลอดภัย การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยให้ลดการเสียเลือดหลังคลอดน้อยลง รูปร่างแม่คืนสู่สภาพเดิมได้เร็ว ช่วยให้แม่และลูกไม่เป็นโรคอ้วน หากให้นมแม่เป็นเวลานานจะช่วยป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ นอกจากนี้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผสม และอุปกรณ์ในการชงนม (พรพิมล อาภาสสกุล, 2559) การจัดโครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อสร้างรากฐานที่ดีของชีวิตจึงมีเป้าหมายเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้และทัศนคติ เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของนมแม่ ความแตกต่างของนมแม่และนมผสม หลักการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท่าให้นมแม่ที่ถูกต้อง แม่ทำงานสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ และเพิ่มทักษะการนวดเต้านม การบีบเก็บน้ำนม และการนำน้ำนมที่เก็บไว้ออกมาใช้ ซึ่งคาดหวังว่าโครงการนี้จะนำไปสู่ความตั้งใจของหญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัว และสามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 ต่อเนื่องจนถึงอายุ 2 ปี หรือมากกว่านั้น ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อเป็นการสร้างรากฐานที่ดีของชีวิตให้กับหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 36 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงหลังคลอดเข้าใจถึงประโยชน์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ ๘0
- ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ ๖0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตัวชี้วัด : 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 36 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 36 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มารดามีความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) 2. เพื่อให้ทารกได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางซูไฮบะห์ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......