กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอาซีกีน เจะซู

ชื่อโครงการ โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L30226113 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L30226113 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๓ ในปี ๒๕๖๐ ฝากครรภ์ล่าช้าจากภาวะตั้งครรภ์ไม่พร้อม ส่งผลกระทบต่อความเครียดในระยะตั้งครรภ์ ที่ไม่สามารถกำจัดความเครียดต่อการดูแลตนเอง มีผลต่อโภชนาการในระว่างตั้งครรภ์ ภาวะซีด บุตรแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย การดูแลบุตรหลังคลอดบกพร่อง ทำให้เกิดปัญหาการเลี้ยงบุตรไม่พร้อม ส่งผลต่อเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ไม่มีคุณภาพ เด็กแรกเกิด ถึง ๕ ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ บุคคลในครอบครัวที่มีส่วนอบรมเลี้ยงดูเด็ก หากเด็กในวัยนี้ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันโรค การดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมพัฒนาการ ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัย อีกทั้งได้รับความรัก ความอบอุ่น การดูแลเอาใจใส่ การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้อง สร้างความมั่นคงปลอดภัยและประสบการณ์เรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก เด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไหม้ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี พบว่าเด็กในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีภาวะโภชนาการบกพร่อง เช่น ตัวเล็ก น้ำหนักน้อยไม่สมกับวัย ร่างผอม พุงป่อง เป็นต้น และยังมีปัญหาด้านสุขภาพฟัน เช่น ฟันผุ คราบหินน้ำลาย คราบหินปูน ฟันกร่อน เป็นต้น และบางส่วนยังไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการของเด็กในกลุ่มนี้ยังล่าช้าไม่เป็นไปตามวัย ปัญหาสุขภาพเหล่านี้ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่นๆตามมา เช่น พยาธิ ป่วยเป็นไข้หวัดบ่อย ปวดฟัน และเหงือกบวม ฯ ซึ่งสาเหตุสำคัญดังกล่าวมาจากมารดาไม่มีการเตรียมความพร้อมของสุขภาพร่างกายก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดที่ถูกต้อง
จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไหม้ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงที่ตั้งครรภ์ ตลอดจนเด็กแรกเกิด ถึง ๕ ปี ในด้านภาวะโภชนาการ พัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสุขภาพฟันที่ดีในเด็กกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “คุณแม่สมาร์ท มัม นำพาเด็กป่าไหม้-ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ท คิดส์ ๒๕๖๑” ขึ้น เพื่อนำพาเด็กอายุแรกเกิด ถึง ๕ ปี ในพื้นที่เข้าสู่เด็กสูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ และฟันไม่ผุ ตามนโยบาย PATTANI AMART KIDS ปี ๒๕๖๑

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.๑ เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีองค์ความรู้ที่ถูกต้องในการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีมีสุขภาพดี ทั้ง ๔ ด้าน (โภชนาการ ฟัน วัคซีน พัฒนาการ)
  3. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสริม...เติมสุข...สู่เด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทรายสมส่วนสุขภาพดี โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมเติมสุขเด็กทุพโภชนาการโดยอาหารทดแทน
  2. คุณแม่สมาร์ทมัม.นำพาเด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทราย สู่สูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ
  3. ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการ “รักคุณแม่... รักลูก... นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์”
  4. เสวนาการเตรียมความพร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง “ รู้เขา รู้เรา สู่คุณแม่ สมาร์ทมัม ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘.๑ หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ร้อยละ ๘๐ ๘.๒ ผู้ปกครองมีเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสามารถแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องให้แก่เด็กอายุ ๐-๕ ปี ร้อยละ ๘๐ ๘.๓ ผู้ปกครองของเด็กอายุ ๐-๕ ปี มีความรู้ในเรื่องประโยชน์ของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนา การตรวจพัฒนาการ และสุขภาพฟัน ร้อยละ ๘๐ ๘.๔ ผู้ปกครองมีการทำอาหารเสริมอย่างต่อเนื่องให้แก่เด็กอายุ ๐-๕ ปี ร้อยละ ๕๐ ๘.๕ เด็กอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่บ้านป่าไหม้ และดอนทราย เป็นเด็กสูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ และฟันไม่ผุ ร้อยละ ๕๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เสริม...เติมสุข...สู่เด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทรายสมส่วนสุขภาพดี โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมเติมสุขเด็กทุพโภชนาการโดยอาหารทดแทน

วันที่ 18 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๕.๑ ขั้นเตรียม ๕.๑.๑ วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของชุมชนโดยใช้การวิเคราะห์แบบ  SRM ๕.๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินงานและจัดหางบประมาณสนับสนุน ๕.๑.๓ ประชุมเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา ๕.๑.๔ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ อบต.ดอนทราย ๕.๑.๕ ประชุมชี้แจงทีมงานการตรวจสุขภาพเด็ก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการ โภชนาการ และสุขภาพฟัน ๔.๑.๖ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อสำรวจหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ ๔.๑.๗ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพฟันและพัฒนาการของเด็กอายุ ๐-๕ ปี เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย
๕.๒ ขั้นดำเนินการ  ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมดังรายละเอียด กิจกรรมที่ ๑ เสวนาการเตรีมความพร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง “รู้เขา รู้เรา สู่คุณแม่สมาร์ทมัม” - กลุ่มเป้าหมาย หญิงวัยเจริญพันธุ์ ๔๐ คน - สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต. บ้านป่าไหม้ - ระยะเวลาดำเนินการ  วันที่  ๑๘ มกราคม ๒๕๖๑

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปัญหาที่เกิดจากโภชนการการบกพร่อง คือ ผู้ปกครองไม่ตะหนักถึงการให้เด็กทานอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย เพราะเด็กควรรับประทานอาหารสมกับวัย ตามพัฒนาการของร่างกาย ดังนั้น.. จึงได้อบรมการจัดการอาหารตามหลักโภชนการของเด้กในแต่ละช่วงวัย ปริมาณอาหารที่ถูกต้อง เสริมวิตามัน แร่ธาตุให้ครบถ้วน และให้ผู้ปกครองทำอาหารที่ถูกกับปากของเด็ก อาหารตามพื้นที่ หาได้ง่ายในหมู่บ้าน เป็นประโยชน์อีกด้วย และติดตามผลการรับประทานอาหาร การเจริญเติบโตของเด็ก และการกินอาหารตามหลักโภชนการอีกด้วย

 

0 0

2. คุณแม่สมาร์ทมัม.นำพาเด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทราย สู่สูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

๕.๑ ขั้นเตรียม ๕.๑.๑ วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของชุมชนโดยใช้การวิเคราะห์แบบ  SRM ๕.๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินงานและจัดหางบประมาณสนับสนุน ๕.๑.๓ ประชุมเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา ๕.๑.๔ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ อบต.ดอนทราย ๕.๑.๕ ประชุมชี้แจงทีมงานการตรวจสุขภาพเด็ก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการ โภชนาการ และสุขภาพฟัน ๔.๑.๖ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อสำรวจหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ ๔.๑.๗ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพฟันและพัฒนาการของเด็กอายุ ๐-๕ ปี เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย
๕.๒ ขั้นดำเนินการ  ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมดังรายละเอียด กิจกรรมที่ ๓ คุณแม่สมาร์ทมัม...นำพาเด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทราย สู่สูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ - กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐-๕ ปี จำนวน ๕๐ คน(รอบที่ ๑ จำนวน ๓๐ และรอบที่ ๒ จำนวน ๒๐ คน ) - สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต. บ้านป่าไหม้ - ระยะเวลาดำเนินการ  วันที่  วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองขาดความรู้ และไม่ค่อยตระหนักถึงความสำคัญของSMART KIDS 4 ด้าน ด้าน1.วัคซีน- -กลัวเด็กมีไข้หลังฉีด -ไม่มีเวลาพาเด็กมาเนื่องจากทำงานประจำ -เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ในวันคลีนิก ด้าน2.พัฒนาการ -ผู้ปกครองขาดการกลับไปกระตุ้นซ้ำที่บ้าน ด้าน3.โภชนาการ -ผู้ปกครองจัดอาหารไม่สมกับวัยและไม่ครบ5หมู่ในแต่ละวัน -ผู้ปกครองเด็กไม่เห็นถึงความสำคัญของอาหารมื้อเช้า ด้าน4.ฟัน -ผู้ปกครองให้ลูกแปรงฟันเองแต่ไม่แปรงซ้ำให้ -ละเลยการแปรงฟันให้ลูก หลังจากได้จัดโครงการ ผู้ปกครอง เข้าใจและเล็งเห็นความสำสำคัญในการดูแลลูกมากขึ้น และสามารถนำบุคคลต้นแบบSMART KIDSมาใช้กับลูกตนเองที่บ้านได้ชัดเจนขึ้น

 

0 0

3. ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการ “รักคุณแม่... รักลูก... นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์”

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

๕.๑ ขั้นเตรียม ๕.๑.๑ วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของชุมชนโดยใช้การวิเคราะห์แบบ  SRM ๕.๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินงานและจัดหางบประมาณสนับสนุน ๕.๑.๓ ประชุมเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา ๕.๑.๔ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ อบต.ดอนทราย ๕.๑.๕ ประชุมชี้แจงทีมงานการตรวจสุขภาพเด็ก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการ โภชนาการ และสุขภาพฟัน ๔.๑.๖ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อสำรวจหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ ๔.๑.๗ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพฟันและพัฒนาการของเด็กอายุ ๐-๕ ปี เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย
๕.๒ ขั้นดำเนินการ  ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมดังรายละเอียด กิจกรรมที่ ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการ “รักคุณแม่...รักลูก... นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์” - กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์จำนวน ๓๐ คน(รอบที่ ๑ จำนวน ๑๕ และรอบที่ ๒ จำนวน ๑๕ คน ) - สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต. บ้านป่าไหม้ - ระยะเวลาดำเนินการ  วันที่ 28กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รพ.สต.บ้านป่าไหม้มีหญิงตั้งครรภ์มากเป็นอันดับ 3 ของอำเภอไม้แก่น  ส่วนใหญ่มีภาวะซีด ขาดการดูแลขณะตั้งครรภ์  ขาดความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ โครงการ โครงการคุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้-ดอนทรายก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ ๒๕๖๑ ซึ่งมีกิจกกรมย่อยกิจกรรมที่ 2 รักคุณแม่ รักลูก นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ ซึ่งเป็นการให้ความรู้การเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ ซึงจากการพูดคุ่ย หญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ขาดความรู้ในการดูแลตนเอง ขาดการวางแผนครอบครัว ไม่เห็นถึงความสำคัญของสมุดสุขภาพแม่และเด็ก ขาดการเตรียมตัวเพื่อการคลอด กิจกกรมนี้จึงส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลเชิงคุณภาพที่สามารถหยิบยื่นจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด 

 

0 0

4. เสวนาการเตรียมความพร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง “ รู้เขา รู้เรา สู่คุณแม่ สมาร์ทมัม ”

วันที่ 16 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๕.๑ ขั้นเตรียม ๕.๑.๑ วิเคราะห์ข้อมูลปัญหาของชุมชนโดยใช้การวิเคราะห์แบบ  SRM ๕.๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินงานและจัดหางบประมาณสนับสนุน ๕.๑.๓ ประชุมเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา ๕.๑.๔ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ อบต.ดอนทราย ๕.๑.๕ ประชุมชี้แจงทีมงานการตรวจสุขภาพเด็ก การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการ โภชนาการ และสุขภาพฟัน ๔.๑.๖ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อสำรวจหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ ๔.๑.๗ ออกหน่วยตามเขต อสม. เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพฟันและพัฒนาการของเด็กอายุ ๐-๕ ปี เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย
๕.๒ ขั้นดำเนินการ  ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมดังรายละเอียด กิจกรรมที่ ๑ เสวนาการเตรีมความพร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง “รู้เขา รู้เรา สู่คุณแม่สมาร์ทมัม” - กลุ่มเป้าหมาย หญิงวัยเจริญพันธุ์ ๔๐ คน - สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต. บ้านป่าไหม้ - ระยะเวลาดำเนินการ  วันที่  16 เมษายน ๒๕๖๑

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสังเกตคุณแม่ตั้งครรภ์ในรพ.สต.บ้านป่าไหม้ส่วนใหญ่ ไม่เคยวางแผนครอบครัว ไม่เคยเข้ารับการปรึกษาเรื่องสุขภาพก่อนตั้งครรภ์  จึงเกิดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์คิดเป็นร้อยละ 25.64
โครงการคุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้-ดอนทรายก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ ๒๕๖๑ ซึ่งมีกิจกกรมย่อยกิจกรรมที่ 1 รักคุณแม่... รักลูก... นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ ส่งเสริมวางแผนครอบครัว โดยการรับประทานยาบำรุงเลือด ทุกวันก่อนตั้งครรภ์ 3 เดือน ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการตั้งครรภ์ในอนาคต

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑ เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีองค์ความรู้ที่ถูกต้องในการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ๘.๑ หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ร้อยละ ๘๐
1.00 1.00

 

2 เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีมีสุขภาพดี ทั้ง ๔ ด้าน (โภชนาการ ฟัน วัคซีน พัฒนาการ)
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่บ้านป่าไหม้ และดอนทราย เป็นเด็กสูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ และฟันไม่ผุ ร้อยละ ๕๐
1.00 1.00

 

3 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 15 15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120 120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีองค์ความรู้ที่ถูกต้องในการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีมีสุขภาพดี ทั้ง ๔ ด้าน (โภชนาการ  ฟัน วัคซีน พัฒนาการ) (3) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริม...เติมสุข...สู่เด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทรายสมส่วนสุขภาพดี โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมเติมสุขเด็กทุพโภชนาการโดยอาหารทดแทน  (2) คุณแม่สมาร์ทมัม.นำพาเด็กบ้านป่าไหม้-ดอนทราย สู่สูงดี สมส่วน พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ (3) ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการ “รักคุณแม่... รักลูก... นำพาทารกก้าวสู่สมาร์ทคิดส์” (4) เสวนาการเตรียมความพร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง “ รู้เขา รู้เรา สู่คุณแม่ สมาร์ทมัม ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561

รหัสโครงการ L30226113 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ คุณแม่สมาร์ทมัม นำพาเด็กป่าไหม้ดอนทราย ก้าวสู่สมาร์ทคิดส์ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L30226113

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรอาซีกีน เจะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด