โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และเหมาะสม (3) ข้อที่ ๓ กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (2) 2. รับสมัครกลุ่มเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่ประสงค์จะเข้าร่วมในกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดโครงการ จำนวน 30 คน (3) 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คู่มือ ทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อการดำเนินงานดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ติดตามตามแนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (4) 4. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวนความรู้ โดยผ่านกระบวน NCD ดีได้ด้วยอสม.พร้อมจัดตั้งกลุ่มใลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) 5. อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดยอสม ติดตามเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 เดือน (6) 6. สรุป รายงานผลโครงการ (7) ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (8) รับสมัครกลุ่มเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่ประสงค์จะเข้าร่วมในกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดโครงการ จำนวน 30 คน (9) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คู่มือ ทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อการดำเนินงานดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ติดตามตามแนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (10) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวนความรู้ โดยผ่านกระบวน NCD ดีได้ด้วยอสม.พร้อมจัดตั้งกลุ่มใลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (11) อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดยอสม ติดตามเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 เดือน (12) สรุป รายงานผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...