กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ การจัดบริการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (Pre-Dmremission) หมู่ที่ 13 ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

 

2 ข้อที่ ๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

3 ข้อที่ ๓ กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ โดยมีผลแยกกลุ่มดังนี้ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเป็นโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง  และเหมาะสม (3) ข้อที่ ๓ กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (2) 2. รับสมัครกลุ่มเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่ประสงค์จะเข้าร่วมในกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดโครงการ จำนวน 30 คน (3) 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คู่มือ ทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อการดำเนินงานดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ติดตามตามแนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (4) 4. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวนความรู้ โดยผ่านกระบวน NCD ดีได้ด้วยอสม.พร้อมจัดตั้งกลุ่มใลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) 5. อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดยอสม ติดตามเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 เดือน (6) 6. สรุป รายงานผลโครงการ (7) ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (8) รับสมัครกลุ่มเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่ประสงค์จะเข้าร่วมในกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดโครงการ จำนวน 30 คน (9) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ คู่มือ ทะเบียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อการดำเนินงานดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ติดตามตามแนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (10) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวนความรู้ โดยผ่านกระบวน NCD ดีได้ด้วยอสม.พร้อมจัดตั้งกลุ่มใลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (11) อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดยอสม ติดตามเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 เดือน (12) สรุป รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh