กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ 50 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปหมู่ที่ 2 จำนวน 377 คน
377.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยกาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแก่ประชาชนแกนนำจำนวน 50 คน
ตัวชี้วัด : ประชาชนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 80
50.00

 

3 ประชาชนและแกนนำในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station มีความรู้ในการดูแลตัวเองมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนในหมู่บ้านมีความรู้ในการดูแลตัวเอง มากกว่าร้อยละ 50
377.00

 

4 ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station สุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสถานีสุขภาพ มีภาวะสุขภาพที่ดีเมื่อเทียบจากปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นร้อยละ 50
377.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1153
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 239
กลุ่มวัยทำงาน 545
กลุ่มผู้สูงอายุ 86
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 7
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 151
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 41
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชน (2) เพื่อพัฒนาศักยกาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแก่ประชาชนแกนนำจำนวน 50 คน (3) ประชาชนและแกนนำในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  มีความรู้ในการดูแลตัวเองมากขึ้น (4) ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  สุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาสถานที่ตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 2 ตำบล เทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ จัดหาชุดเครื่องมือในการใช้บริการในจุดบริการ สถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station (3) เพื่อพัฒนาศักยกาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแก่ประชาชนแกนนำ และประชาชนในพื้นที่ 3 ฐาน (4) ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้นประกอบด้วย ดัชนีมวลกาย , รอบเอว , วัดระดับความดันโลหิต , คัดกรองปัจจัยเสี่ยง , การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา และประเมินสุขภาพจิต ร่วมถึงการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเทพา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh