กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ขั้นตอนและวิธีการปลูกผักสวนครัว มีความตระหนักในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักสวนครัวปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู และชุมชนมีความรู้ ความสามารถที่จะทำปุ๋ยหมักใช้เอง ปลูกผักใช้เองเพื่อความปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และสร้างการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ขั้นตอนและวิธีการปลูกผักสวนครัว มีความตระหนักในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักสวนครัวปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและที่บ้าน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู และชุมชนมีความรู้ ความสามารถที่จะทำปุ๋ยหมักใช้เอง ปลูกผักใช้เองเพื่อความปลอดภัย (4) เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และสร้างการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการปลูกผักปลอดภัย และการเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก 2. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว ปรับพื้นที่ทำการปลูกผัก ยกแปลงผัก นำต้นกล้าและเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวชนิดต่างๆที่เตรียมไว้มาปลูกลงแปลง (2) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ยชีวภาพ พร้อมสาธิตขั้นตอนวิธีการทำปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้เอง 2. กิจกรรมมอบต้นกล้าและเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว (3) 5. เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากโครงการไปประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และนำผักที่เหลือจากการประกอบอาหาร มาจำหน่ายให้เจ้าหน้าที่ อบต. ผู้ปกครองและ ประชาชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh