กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ขั้นตอนและวิธีการปลูกผักสวนครัว มีความตระหนักในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักสวนครัวปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและที่บ้าน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู และชุมชนมีความรู้ ความสามารถที่จะทำปุ๋ยหมักใช้เอง ปลูกผักใช้เองเพื่อความปลอดภัย (4) เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และสร้างการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนและ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการปลูกผักปลอดภัย และการเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก 2. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว ปรับพื้นที่ทำการปลูกผัก ยกแปลงผัก นำต้นกล้าและเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวชนิดต่างๆที่เตรียมไว้มาปลูกลงแปลง (2) 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ยชีวภาพ พร้อมสาธิตขั้นตอนวิธีการทำปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้เอง 4. กิจกรรมมอบต้นกล้าและเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว (3) 5. เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากโครงการไปประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และนำผักปลอดภัยที่เหลือจากการประกอบอาหาร มาจำหน่ายให้เจ้าหน้าที่ อบต. ผู้ปกครองและ ประชาชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ