เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายรอโซล อีซอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3011-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3011-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น
จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด
นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต
ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น
จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด
นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต
ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านที่ยังไม่เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน จำนวน ๓๑๙ หมู่บ้าน โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ครบทุกหมู่บ้านเป็นที่เรียบร้อยแล้วด้านนายไชยพร นิยมแก้ว รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กล่าวเสริมต่ออีกว่า การบูรณาการ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในด้านการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทำให้ผู้เสพ/ผู้ติด ลดจำนวนลง และส่งเสริมให้เกิดศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมเพิ่มขึ้น ผู้นำในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน/คณะกรรมการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินและชุดปฏิบัติการในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนจังหวัดปัตตานี จะมีความเข้าใจ และจะสามารถพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคีเครือข่ายได้อย่างเป็นรูปธรรม ถือเป็นมิติหนึ่งของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ปัญหายาเสพติดได้ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญ ที่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ายาเสพติด ทั้งในรูปแบบของการใช้ การซื้อขาย และการชักชวนให้เข้าสู่วงจรของยาเสพติด โดยเฉพาะในพื้นที่ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีบริบททางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยง อีกทั้งยังอยู่ในพื้นที่ชายแดนที่อาจมีช่องทางในการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดได้ง่าย
จะเห็นได้ว่ายาเสพติดได้ขยายตัวลุกลามเข้าไปทุกแห่งหนกระทั้งในรั้วโรงเรียนก็มีเพิ่มมากขึ้นทุกที เนื่องจากอยู่ในช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะได้รับอิทธิพลจากเพื่อนหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ง่าย การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถูกต้อง รวมถึงทักษะในการปฏิเสธและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วยวัยที่มีความคึกคะนอง อยากลอง อยากประชดโดยเฉพาะผู้ที่เริ่มมีความทุกข์ทางใจ เหงาว้าเหว่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ในโลกใบนี้สิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและเป็นภัยร้ายกับสังคม เรายังหนีไม่พ้นกับเรื่องของยาเสพติด เป็นที่น่าหวั่นเกรงว่า หากไม่ดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน อาจสายเกินไปสำหรับเด็กเยาวชนและกลายเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต
ในปี 2566 ทุกภาคส่วนในตำบลตะลุโบะดำเนินโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหมู่ที่ 1บ้านแบรอ โดยมีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 30 คน และมีการติดตามผลหลังการบำบัดในกลุ่มเครือข่ายจำนวน 20 คน โครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ และดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง การอบรมเครือข่าย อสม. และการประชุมติดตามผู้ผ่านการบำบัด นอกจากนี้ จังหวัดปัตตานีได้ดำเนินโครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) อย่างเป็นรูปธรรม ครอบคลุมทุกตำบลเป้าหมายในอำเภอเมืองปัตตานี รวมถึงตำบลตะลุโบะด้วย
ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ มีนักเรียนตาดีกาจำนวน 100 คน อายุตั้งแต่ 6 – 12 ปี แบ่งเป็นเพศชายจำนวน30 คน และเพศหญิงจำนวน 70 คน ในพื้นที่ หมู่ 1 ตำบลตะลุโบะ ถือเป็นกลุ่มเปราะบางที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดดังนั้น ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์เล็งเห็นถึงความสำคัญของป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กตาดีกา จึงได้จัดทำโครงการเด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะการประเมินพื้นที่เสี่ยง การปฏิเสธยาเสพติดและการเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- .กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจเรื่องอันตรายจากยาเสพติด
- กิจกรรมสำรวจและรณรงค์ห่างไกลยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
- ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
- ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและเด็กความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
0.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
0.00
80.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการปฏิเสธยาเสพติด
0.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจเรื่องอันตรายจากยาเสพติด (3) กิจกรรมสำรวจและรณรงค์ห่างไกลยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3011-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายรอโซล อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นายรอโซล อีซอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3011-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3011-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น
จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด
นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต
ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น
จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด
นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต
ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านที่ยังไม่เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน จำนวน ๓๑๙ หมู่บ้าน โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ครบทุกหมู่บ้านเป็นที่เรียบร้อยแล้วด้านนายไชยพร นิยมแก้ว รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กล่าวเสริมต่ออีกว่า การบูรณาการ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในด้านการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทำให้ผู้เสพ/ผู้ติด ลดจำนวนลง และส่งเสริมให้เกิดศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมเพิ่มขึ้น ผู้นำในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน/คณะกรรมการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินและชุดปฏิบัติการในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนจังหวัดปัตตานี จะมีความเข้าใจ และจะสามารถพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคีเครือข่ายได้อย่างเป็นรูปธรรม ถือเป็นมิติหนึ่งของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ปัญหายาเสพติดได้ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญ ที่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ายาเสพติด ทั้งในรูปแบบของการใช้ การซื้อขาย และการชักชวนให้เข้าสู่วงจรของยาเสพติด โดยเฉพาะในพื้นที่ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีบริบททางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยง อีกทั้งยังอยู่ในพื้นที่ชายแดนที่อาจมีช่องทางในการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดได้ง่าย
จะเห็นได้ว่ายาเสพติดได้ขยายตัวลุกลามเข้าไปทุกแห่งหนกระทั้งในรั้วโรงเรียนก็มีเพิ่มมากขึ้นทุกที เนื่องจากอยู่ในช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะได้รับอิทธิพลจากเพื่อนหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ง่าย การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถูกต้อง รวมถึงทักษะในการปฏิเสธและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วยวัยที่มีความคึกคะนอง อยากลอง อยากประชดโดยเฉพาะผู้ที่เริ่มมีความทุกข์ทางใจ เหงาว้าเหว่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ในโลกใบนี้สิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและเป็นภัยร้ายกับสังคม เรายังหนีไม่พ้นกับเรื่องของยาเสพติด เป็นที่น่าหวั่นเกรงว่า หากไม่ดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน อาจสายเกินไปสำหรับเด็กเยาวชนและกลายเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต
ในปี 2566 ทุกภาคส่วนในตำบลตะลุโบะดำเนินโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหมู่ที่ 1บ้านแบรอ โดยมีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 30 คน และมีการติดตามผลหลังการบำบัดในกลุ่มเครือข่ายจำนวน 20 คน โครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ และดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง การอบรมเครือข่าย อสม. และการประชุมติดตามผู้ผ่านการบำบัด นอกจากนี้ จังหวัดปัตตานีได้ดำเนินโครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) อย่างเป็นรูปธรรม ครอบคลุมทุกตำบลเป้าหมายในอำเภอเมืองปัตตานี รวมถึงตำบลตะลุโบะด้วย
ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ มีนักเรียนตาดีกาจำนวน 100 คน อายุตั้งแต่ 6 – 12 ปี แบ่งเป็นเพศชายจำนวน30 คน และเพศหญิงจำนวน 70 คน ในพื้นที่ หมู่ 1 ตำบลตะลุโบะ ถือเป็นกลุ่มเปราะบางที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดดังนั้น ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์เล็งเห็นถึงความสำคัญของป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กตาดีกา จึงได้จัดทำโครงการเด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะการประเมินพื้นที่เสี่ยง การปฏิเสธยาเสพติดและการเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- .กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจเรื่องอันตรายจากยาเสพติด
- กิจกรรมสำรวจและรณรงค์ห่างไกลยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
- ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
- ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและเด็กความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด |
0.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการประเมินพื้นที่เสี่ยง |
0.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการปฏิเสธยาเสพติด |
0.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจเรื่องอันตรายจากยาเสพติด (3) กิจกรรมสำรวจและรณรงค์ห่างไกลยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3011-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายรอโซล อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......