กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ได้ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายทุกประการ โดยสมาชิกได้ให้ความสนใจ และเข้าร่วมกิจกรรมอย่างพร้อมเพรียง ยังผลให้สมาชิกชมรมฯ มีส่วนร่วมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวอย่างยั่งยืน ก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชมรมฯ สืบไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการดูแลสุขภาพอนามัยทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๙๐ ของสมาชิกชมรมฯ และผู้สูงอายุที่เข้า ร่วมโครงการ/กิจกรรม ได้รับความรู้จากการดำเนินงาน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และปฏิบัติตนเพื่อให้มีสุขภาพที่ดีทั้งกาย และใจ
90.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกชมรมฯ ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของชมรมฯ อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง เพื่อความเข้มแข็ง ยั่งยืนของชมรมฯ
ตัวชี้วัด : ๒. ชมรมฯ มีความเข้มแข็ง อย่างยั่งยืน สามารถเป็นจุด ศูนย์กลางในการรวมกลุ่ม และเป็นหน่วยส่งเสริมการนำความรู้ด้านสุขภาพและการทำกิจกรรมด้านต่างๆ แก่สมาชิกชมรมฯ
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 130
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการดูแลสุขภาพอนามัยทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ (2) เพื่อให้สมาชิกชมรมฯ ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของชมรมฯ อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง เพื่อความเข้มแข็ง ยั่งยืนของชมรมฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ด้าน “การดูแลสุขภาพ กายและสุขภาพจิดในวัยอาวุโสด้วยตนเอง” (2) ให้ความรู้ด้าน “ภาวะโภชนาการที่ ถูกต้องสำหรับผู้สูงวัย” (3) ให้ความรู้ด้าน “การดูแลชีวิตให้เป็นสุข” (4) ให้ความรู้ “เป็นผู้สูงวัยแบบสตรอง” (5) ให้ความรู้ “สังคมใหม่สำหรับผู้สูงวัยยุค ๔.๐” (6) ให้ความรู้ “การบริหารกาย การบริหารจิต สำหรับผู้สูงวัย”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh