กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ


“ โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8) ”

ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปราณีบุญศาท

ชื่อโครงการ โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8)

ที่อยู่ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3015-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 ธันวาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3015-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 ธันวาคม 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ  การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะ  นำโรคได้เป็นอย่างดี ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง  ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรยุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยไม่ได้กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และไข้ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจัง    เพราะในการลงไปสำรวจแต่ละครั้งบ้านผู้ป่วยและบริเวณใกล้เคียงจะเจอลูกน้ำในภาชนะต่างๆ เช่น โอ่ง ถังใส่น้ำ    อ่างอาบน้ำ จึงทำให้มียุงรุ่นใหม่เกิดได้ตลอดช่วงเวลา จึงไม่สามารถขจัดโรคไข้เลือดออกให้หมดไปจากชุมชนได้    ในการนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาราเฮาะ ได้จัดทำโครงการขึ้น โดยดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์    ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในอาคารบ้านเรือน และชุมชน จัดการสิ่งแวดล้อมปรับปรุงภูมิทัศน์ ทำความสะอาดรอบบ้านเรือน เก็บขยะ ล้างท่อระบายน้ำไม่ให้มีน้ำขัง เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เป็นการสร้างจุดแข็งของชุมชน ในการดำเนินการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก    และช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาราเฮาะ อ.เมือง จังหวัดปัตตานี ตระหนักถึง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การ  มีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของ    โรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำ    ให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญ ที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  3. 3. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  4. 4 . เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชน สะอาดไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
    2. ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
    3. ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 4 . สร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชน สะอาดไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
    450.00

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 2. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
    450.00

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : 3. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8 เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    450.00

     

    4 4 . เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชน สะอาดไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ตัวชี้วัด : 4 . เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชน สะอาดไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    450.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8  ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8  มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม (3) 3. เพื่อให้ประชาชน ในตำบลบาราเฮาะ หมู่ที่1-8  เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ (4) 4 . เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชน สะอาดไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ“อบรมให้ความรู้ชาวตำบลบาราเฮาะใส่ใจป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๑”(หมู่ที่1-8) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3015-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปราณีบุญศาท )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด