กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.จำนวนผู้เข้าชมนิทรรศการและรับบริการ ทั้งหมด ๑,๐๒๐ คน จำแนกเป็นจำแนกเป็น เพศหญิง ๖๕๒ คน (ร้อยละ๖๓.๙๒) เพศชาย ๓๖๘ คน (ร้อยละ๓๖.๐๗) อาชีพที่มารับบริการมากที่สุด ๓ ลำดับแรก คือ ข้าราชการ รองลงมาคือรับจ้าง และ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เป็นผู้ที่เคยรับการรักษาด้วยแพทย์แผนไทย ๗๒๒ คน (ร้อยละ ๗๑.๓๗)
๒. จำนวนผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ จำนวน ๒๑๖ คน (ร้อยละ ๒๑.๑๗ ) ช่วงอายุที่มารับบริการมากที่สุด        ๓ อันดับแรก คือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง ๓๐ – ๔๐ ปี รองลงมาคืออายุระหว่าง ๔๐ – ๕๐ ปีและอายุระหว่าง ๕๐ ปีขึ้นไป   จำแนกตามประเภทการรับบริการ ดังนี้ - นวดคอบ่าไหล่,นวดฝ่าเท้า จำนวน ๑๒๘ คน (ร้อยละ ๕๙.๒๕) - ประคบสมุนไพร จำนวน ๕๖ คน (ร้อยละ ๒๕.๙๒) - พอกเข่าด้วยสมุนไพร จำนวน ๓๒ คน (ร้อยละ ๑๔.๘๑) - รักษาด้วยยาสมุนไพร จำนวน ๑๐๕ คน (ร้อยละ ๑๐.๒๙) - ผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการ ,รับบริการน้ำดื่มสมุนไพร จำนวน ๑,๐๒๐ คน (ร้อยละ ๑๐๐)
- สาธิตการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ยาดมสมุนไพร ,ลูกประคบสมุนไพร) แจกยาดมสมุนไพร              จำนวน ๓๐๐ คน (ร้อยละ ๒๙.๔๑) - แจกแผ่นพับ สมุนไพรใกล้ตัว/ท่าบริหารร่างกาย/วิธีทำลูกประคบ จำนวน ๓๐๐ ใบ (ร้อยละ ๒๙.๔๑) ๓. ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการแพทย์แผนไทย สำรวจเฉพาะผู้ที่รับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ทั้งหมด ๒๑๖ คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนรู้จักและ เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย จำนวน 100 คนต่อวัน
0.00 145.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อประชาสัมพันธ์บริการ, เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นและเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจของ ร้อยละ 80
0.00 99.99

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 700
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนรู้จักและ เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย  (2) ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย  (3) ข้อที่ 3เพื่อประชาสัมพันธ์บริการ, เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นและเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพ โดยระบบบริการการแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิบริเวณงานถนนคนเดิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh