โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 7/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 7/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็มเพิ่มผัก ออกกำลังกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้กลยุทธ์การชี้นำด้านสุขภาพ การเพิ่มความสามารถ และการไกล่เกลี่ยผลประโยชน์ด้านสขภาพและกระบวนการเรียนรู้ คือการวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างอนาคตร่วมกัน เพื่อกระตุ้นเสริมพลังความคิด และการมีส่วนร่วมของชุมชน ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สภาพความต้องการที่แท้จริง และสามารถกำหนดแนวทางตอบสนองความต้องการของตนเอง และชุมชนได้ตามศักยภาพใจ บริบทของชุมชน ซึ่งสอดคล้องแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย ปัจจัยภายในชุมชน ปัจจัยภายนอก
กิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ การประชุมค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจ การจัดกิจกรรมเรียนรู้การดูแลสุขภาพองค์รวม ทั้งเจ้าของสุขภาพและญาติในครอบครัวที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน และพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีม อสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน เป็นกลไกพี่เลี้ยงในการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพ ทั้งนี้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
และจากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนฟน้าที่ว่า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้ดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ และได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน ในปี 2559 จากผลการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 277 คน พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 49.82 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวนร้อยละ 52.05 จะเห็นได้ว่าผลจากการดำเนินงาน ประชากรยังไม่มีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ยังไม่ถูกต้องครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน ทั้งนี้เพื่อเป็นการดำเนินการหลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเป็นการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังอย่างยั่งยืน โดยใช้หลัก 3 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ เข้ามาดำเนินการอย่างต่อเนื่องในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด
- 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 100 ของ ม.4 ไม่เป็นผู้ป่วยใหม่ของชุมชน
2.กลุ่มเสี่ยงและญาติของกลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยหนึ่งคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภาวะเสี่ยงแทรกซ้อน
3.ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพการออกกำลังกายและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากกิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ การประชุมแกนนำ ค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ปรับพฤติกรรมการกิน และเพิ่มพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีม อสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ เป็นพี่เลี้ยงในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และมีการสร้างกระแสการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ผลจากการติดตาม พบว่า
-มีผู้สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน ซึ่งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมกับ อสม.จำนวน 80 คน (จัด 2 รุ่น)
-มีการติดตามผลโดยการแลกเปลี่ยนในชุมชน 1 เดือน/ครั้ง พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีพฤติกรรมดีขึ้น ผลการตรวจระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูง ดีขึ้น มากกว่าร้อยละ 80 และไม่พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่
-มีกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในชุมชน
-มีเวทีแลกเปลี่ยนการลดหวาน มัน เค็ม ในที่ประชุมหมู่บ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
101
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
21
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด (2) 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 7/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 7/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 7/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็มเพิ่มผัก ออกกำลังกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้กลยุทธ์การชี้นำด้านสุขภาพ การเพิ่มความสามารถ และการไกล่เกลี่ยผลประโยชน์ด้านสขภาพและกระบวนการเรียนรู้ คือการวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างอนาคตร่วมกัน เพื่อกระตุ้นเสริมพลังความคิด และการมีส่วนร่วมของชุมชน ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สภาพความต้องการที่แท้จริง และสามารถกำหนดแนวทางตอบสนองความต้องการของตนเอง และชุมชนได้ตามศักยภาพใจ บริบทของชุมชน ซึ่งสอดคล้องแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย ปัจจัยภายในชุมชน ปัจจัยภายนอก กิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ การประชุมค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจ การจัดกิจกรรมเรียนรู้การดูแลสุขภาพองค์รวม ทั้งเจ้าของสุขภาพและญาติในครอบครัวที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน และพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีม อสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสนายขัน เป็นกลไกพี่เลี้ยงในการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพ ทั้งนี้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง และจากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนฟน้าที่ว่า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้ดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ และได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน ในปี 2559 จากผลการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 277 คน พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 49.82 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวนร้อยละ 52.05 จะเห็นได้ว่าผลจากการดำเนินงาน ประชากรยังไม่มีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ยังไม่ถูกต้องครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน ทั้งนี้เพื่อเป็นการดำเนินการหลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเป็นการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังอย่างยั่งยืน โดยใช้หลัก 3 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ เข้ามาดำเนินการอย่างต่อเนื่องในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด
- 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 21 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 100 ของ ม.4 ไม่เป็นผู้ป่วยใหม่ของชุมชน 2.กลุ่มเสี่ยงและญาติของกลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยหนึ่งคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภาวะเสี่ยงแทรกซ้อน 3.ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพการออกกำลังกายและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากกิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ การประชุมแกนนำ ค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ปรับพฤติกรรมการกิน และเพิ่มพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีม อสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ เป็นพี่เลี้ยงในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และมีการสร้างกระแสการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ผลจากการติดตาม พบว่า -มีผู้สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน ซึ่งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมกับ อสม.จำนวน 80 คน (จัด 2 รุ่น) -มีการติดตามผลโดยการแลกเปลี่ยนในชุมชน 1 เดือน/ครั้ง พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีพฤติกรรมดีขึ้น ผลการตรวจระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูง ดีขึ้น มากกว่าร้อยละ 80 และไม่พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ -มีกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในชุมชน -มีเวทีแลกเปลี่ยนการลดหวาน มัน เค็ม ในที่ประชุมหมู่บ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 101 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 21 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้ลดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด (2) 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย สม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมแชง ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 7/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......