โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3356-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ โดยให้ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียนได้ช่วยกันเตรียมดินในการทำแปลงผัก เด็กจะเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ และเป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก คุณครูและเด็กๆยังได้เพิ่มพูนความรู้ด้านการปลูกผักแบบอินทรีย์ อนุรักษ์ธรรมชาติ รวมทั้งคอยติดตามผลในช่วงระหว่างการเจริญเติบโตของผัก ส่วนผลผลิตที่ได้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะนำไปปรุงเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน และนี่ก็ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยสร้างพื้นที่สีเขียว พร้อมปลูกฝังเด็กให้หันมาใส่ใจในสุขภาพตั้งแต่เด็กนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกายแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด้กรักธรรมชาติมากขึ้นเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านและเหมาะสมกับวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ
- เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
74
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ และสามารถนำไปปฏิบัติต่อยอดที่บ้านได้
2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียนได้รู้การดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารพิษ
3.เกิดความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น
70
70
2. กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมอีกด้วยผักไร้สารจากสารพิษ คือ ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นสารเคมีเพื่อป้องกันเพื่อปราบศัตรูพืชหรือปุ๋ยเคมีทุกชนิด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลผลิตที่ได้ต้องไม่มีสารพิษใดๆทั้งสิ้น ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือผักที่มีระบบการผลิตที่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและปราบศัตรูพืช รวมทั้งปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ยังมีสารพิษตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก
70
70
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์ การทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น และมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการทางด้านร่างกาย สังคม สติปัญญา อารมณ์และจิตใจให้เหมาะสมกับวัย
70
70
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการผลิตที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่างๆ รวมถึงการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ด้วย ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมอีกด้วยผักไร้สารจากสารพิษ คือ ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นสารเคมีเพื่อป้องกันเพื่อปราบศัตรูพืชหรือปุ๋ยเคมีทุกชนิด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลผลิตที่ได้ต้องไม่มีสารพิษใดๆทั้งสิ้น ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือผักที่มีระบบการผลิตที่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและปราบศัตรูพืช รวมทั้งปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ยังมีสารพิษตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น และมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการทางด้านร่างกาย สังคม สติปัญญา อารมณ์และจิตใจให้เหมาะสมกับวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
74
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
74
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ (3) เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3356-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ โดยให้ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียนได้ช่วยกันเตรียมดินในการทำแปลงผัก เด็กจะเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ และเป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก คุณครูและเด็กๆยังได้เพิ่มพูนความรู้ด้านการปลูกผักแบบอินทรีย์ อนุรักษ์ธรรมชาติ รวมทั้งคอยติดตามผลในช่วงระหว่างการเจริญเติบโตของผัก ส่วนผลผลิตที่ได้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะนำไปปรุงเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน และนี่ก็ถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยสร้างพื้นที่สีเขียว พร้อมปลูกฝังเด็กให้หันมาใส่ใจในสุขภาพตั้งแต่เด็กนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกายแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด้กรักธรรมชาติมากขึ้นเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านและเหมาะสมกับวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ
- เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 74 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน และครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ และสามารถนำไปปฏิบัติต่อยอดที่บ้านได้ 2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียนได้รู้การดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารพิษ 3.เกิดความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น
|
70 | 70 |
2. กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมอีกด้วยผักไร้สารจากสารพิษ คือ ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นสารเคมีเพื่อป้องกันเพื่อปราบศัตรูพืชหรือปุ๋ยเคมีทุกชนิด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลผลิตที่ได้ต้องไม่มีสารพิษใดๆทั้งสิ้น ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือผักที่มีระบบการผลิตที่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและปราบศัตรูพืช รวมทั้งปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ยังมีสารพิษตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก
|
70 | 70 |
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์ การทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น และมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการทางด้านร่างกาย สังคม สติปัญญา อารมณ์และจิตใจให้เหมาะสมกับวัย
|
70 | 70 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการผลิตที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่างๆ รวมถึงการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ด้วย ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมอีกด้วยผักไร้สารจากสารพิษ คือ ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นสารเคมีเพื่อป้องกันเพื่อปราบศัตรูพืชหรือปุ๋ยเคมีทุกชนิด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลผลิตที่ได้ต้องไม่มีสารพิษใดๆทั้งสิ้น ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือผักที่มีระบบการผลิตที่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและปราบศัตรูพืช รวมทั้งปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ยังมีสารพิษตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนดไว้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปรางได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ การปลูกผักปลอดสารพิษแบบเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ผู้ปกครองและเด็กได้ออกกำลังกายในการทำแปลงผัก เด็กเกิดความสนุกสนานกับการปลูกผัก และได้รับความรู้ในการเลือกอาหาร/ผักที่ปลอดสารพิษ เป็นการปลูกฝังให้เด็กชอบกินผัก ศูนย์เด็กเล็กมีแปลงผักที่ปลอดสารพิษและปลอดภัยเอาไว้ประกอบอาหารกลางวันภายในศูนย์ ซึ่งสามารถปลูกผักหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องนอกจากจะมีประโยชน์กับร่างกาย การทำสวนผัก/การปลูกยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมากมาย ที่สำคัญทั้งจากประสบการณ์ตรง การให้เด็กได้ปลูกผัก มีส่วนช่วยในขั้นตอนต่างๆ มีผลทำให้เด็กที่ไม่กินผัก หันมากินผักมากขึ้น โดยเฉพาะผักที่ตัวเองปลูกเองกับมือแล้วยังทำให้เด็กๆได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยการที่ให้เด็กอยู่ภายใต้ธรรมชาติที่อบอุ่นและปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กและผู้ปกครองรักธรรมชาติมากขึ้น และมุ่งเน้นพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการทางด้านร่างกาย สังคม สติปัญญา อารมณ์และจิตใจให้เหมาะสมกับวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 74 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 74 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักแบบเกษตรอินทรีย์และสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กนักเรียน ได้รู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพในการกินผัก/อาหารปลอดสารผิษ (3) เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการสานสัมพันธ์เด็กและครอบครัวสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3356-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองปราง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......