กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุน กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2561

ชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มีนาคม 2561 ถึงเดือน เมษายน 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 25 เมษายน 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้ขอรับงบประมาณทั้ง 8 โครงการนำไปปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของคณะอนุกรรมการฯ - รับรองการประชุม - รับรองรายรับ-จ่าย การเงินกองทุนฯ - อนุมัติโครงการจำนวน 8 โครงการ ดังนี้ 1 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนวัดดุลยาราม 2 โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 3 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพในเขตเทศบาลตำบลฉลุง 4 โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ 5 โครงการป้องกันและแก้ไขความรุนแรงที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและการเกิดโรคติดต่อ 6 โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 7 โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2) 8 โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

พิจารณาโครงการ จำนวน 8 โครงการ โดยคณะอนุกรรมการได้ให้คำแนะนำและให้ผู้ขอรับโครงการนำไปปรับแก้ในบางเรื่อง เช่น กำหนดการและค่าวิทยากรให้สอดคล้องกัน , สถานที่ที่จัดกิจกรรม , ค่าอาหารเช้า เป็นต้น

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 10 2                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 23,358.00 975.00                  
คุณภาพกิจกรรม 8 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ผู้รับผิดชอบโครงการ