กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
60.00 35.00 35.00

 

 

สถานการณ์อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ คิดเป็นร้อยละ 40 หลังจาการดำเนินกิจกรรม ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลงลง ร้อยละ 5

2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
60.00 40.00 40.00

 

 

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ คิดเป็น ร้อยละ 32 หลังดำเนินกิจกรรม ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ ร้อยละ 28 โดยลดลง ร้อยละ 4

3 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
70.00 80.00 20.00

 

 

 

4 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
60.00 35.00 35.00

 

 

 

5 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
50.00 60.00 10.00

 

 

 

6 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
60.00 40.00 40.00