การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมัส บินสะอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งโรคเรื้อรัง Metabolic ได้แก่โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต ข้อมูลทางระบาดวิทยาพบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ประเทศไทยเองก็ประสบกับปัญหานี้เช่นเดียวกัน ค่าเป้าหมายผู้ป่วยรายใหม่โรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีผู้ป่วยรายใหม่ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีผู้ป่วยรายใหม่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๓๖,๓๒๒ คน และผู้ป่วยรายใหม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๒๘๐,๙๕๑ คน และปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีผู้ป่วยรายใหม่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๒๐,๔๑๓ คน และผู้ป่วยรายใหม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๒๖๖,๙๐๓ คน ปี พ.ศ ๒๕๖๐ อาจลดลงจากปี ๒๕๕๙ เล็กน้อยเนื่องจากมีการคัดกรองและประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขมากขึ้น แต่ก็ยังมีประชาชนบางส่วนที่ยังไม่กล้าที่จะตรวจสุขภาพของตนเอง เนื่องจากอาจมาความเชื่อบางอย่างหรือกลัวว่าหากตรวจคัดกรองแล้วจะพบกับโรคนั้นๆ ทำให้ตนเองนั้นเกิดความวิตกกังวลใจ และถ้าไม่ดีรับการคัดกรองอาจเป็นโรคโดยไม่รู้ตัวและเป็นภาระลูกหลานในภายภาคหน้าได้ อัตราความชุกของโรคเบาหวานในเมืองสูงกว่าชนบท(National Health Interview and Examination Survey)การดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน นอกจากยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเอง และร่วมหารือ และแนะนำการแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมีเป็นจำนวนมาก และมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้รับบริการดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่างครบถ้วน และการรักษาส่วนใหญ่ยังเน้นโรงพยาบาลเป็นศูนย์กลาง(Hospital-based) ถึงแม้หลาย ๆ โรงพยาบาลจะได้รับการรับรองเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ(HPH) ก็ตาม ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลตนเองน้อย ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งแพทย์ และทีมงานเป็นหลัก แต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย ได้ตระหนักในการดูแลตนเอง มีความรู้ สร้างทัศนคติ จะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย เพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก
ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Metabolic ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ จึงได้จัดทำโครงการโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี๒๕๖๑เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันกลุ่มผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดี ไม่มีโรคแทรกซ้อนซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561
- ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม
- ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
232
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเรื้อรัง Metbolicได้อย่างถูกต้อง
- อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ค่าวิทยากรกลุ่มให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 5 กลุ่มๆ ละ 2 คน จำนวน 10 คนๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 ชม. = 3,000 บาท
- ค่าวัสดุอุกรณ์ในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (เครื่องวัดความดันโลหิต หมู่ละ 1 เครื่องๆ ละ 3,000 บาท x 7 หมู่ = 21,000 , เครื่องเจาะเบาหวาน หมู่ละ 1 เครื่่องๆ ละ 25,000 บาท x 7 หมู่ = 17,500 บาท)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจโรคเรื้อรังมากขึ้น
0
0
2. อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561
วันที่ 3 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- ค่าวิทยากรอบรม 1คน x 600 บาท x 5 ชม. = 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 50บาท x 137คน = 6,850 บาท
- ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ x 50บาท x 137คน = 6,850 บาท
- ค่าวัสดุ (กระเป๋าผ้าใบ 70บาท x 137 = 9,590 บาท , สมุดปกอ่อน 20บาท x 137 = 2,740 บาท , ปากกา 10บาท x 137 = 1,370 บาท) คิดเป็นเงิน 100บาท x 137คน = 13,700 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 3 เมตร จำนวน 1 ผืน = 900 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจโรคเรื้อรังมากขึ้น
0
0
3. ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน
วันที่ 4 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารและเครื่องดื่มออกปฏิบัติงานเชิงรุก 3 มื้อๆ ละ 75 บาท จำนวน 95 คน เป็นเงิน 7,125 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเชิงรุกคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 90
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเรื้อรัง Metbolic ได้มากขึ้น
0.00
2
เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ความสามารถในการปฎิบัติงานเชิงรุกคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกะจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
232
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
232
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561 (2) ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม (3) ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัสมัส บินสะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมัส บินสะอิ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งโรคเรื้อรัง Metabolic ได้แก่โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต ข้อมูลทางระบาดวิทยาพบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ประเทศไทยเองก็ประสบกับปัญหานี้เช่นเดียวกัน ค่าเป้าหมายผู้ป่วยรายใหม่โรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีผู้ป่วยรายใหม่ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีผู้ป่วยรายใหม่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๓๖,๓๒๒ คน และผู้ป่วยรายใหม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๒๘๐,๙๕๑ คน และปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีผู้ป่วยรายใหม่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๒๐,๔๑๓ คน และผู้ป่วยรายใหม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๒๖๖,๙๐๓ คน ปี พ.ศ ๒๕๖๐ อาจลดลงจากปี ๒๕๕๙ เล็กน้อยเนื่องจากมีการคัดกรองและประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขมากขึ้น แต่ก็ยังมีประชาชนบางส่วนที่ยังไม่กล้าที่จะตรวจสุขภาพของตนเอง เนื่องจากอาจมาความเชื่อบางอย่างหรือกลัวว่าหากตรวจคัดกรองแล้วจะพบกับโรคนั้นๆ ทำให้ตนเองนั้นเกิดความวิตกกังวลใจ และถ้าไม่ดีรับการคัดกรองอาจเป็นโรคโดยไม่รู้ตัวและเป็นภาระลูกหลานในภายภาคหน้าได้ อัตราความชุกของโรคเบาหวานในเมืองสูงกว่าชนบท(National Health Interview and Examination Survey)การดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน นอกจากยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเอง และร่วมหารือ และแนะนำการแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมีเป็นจำนวนมาก และมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้รับบริการดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่างครบถ้วน และการรักษาส่วนใหญ่ยังเน้นโรงพยาบาลเป็นศูนย์กลาง(Hospital-based) ถึงแม้หลาย ๆ โรงพยาบาลจะได้รับการรับรองเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ(HPH) ก็ตาม ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลตนเองน้อย ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งแพทย์ และทีมงานเป็นหลัก แต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย ได้ตระหนักในการดูแลตนเอง มีความรู้ สร้างทัศนคติ จะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย เพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Metabolic ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ จึงได้จัดทำโครงการโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี๒๕๖๑เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันกลุ่มผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดี ไม่มีโรคแทรกซ้อนซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561
- ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม
- ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 232 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเรื้อรัง Metbolicได้อย่างถูกต้อง
- อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจโรคเรื้อรังมากขึ้น
|
0 | 0 |
2. อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561 |
||
วันที่ 3 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจโรคเรื้อรังมากขึ้น
|
0 | 0 |
3. ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน |
||
วันที่ 4 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำค่าอาหารและเครื่องดื่มออกปฏิบัติงานเชิงรุก 3 มื้อๆ ละ 75 บาท จำนวน 95 คน เป็นเงิน 7,125 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเชิงรุกคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 90
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตัวชี้วัด : อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเรื้อรัง Metbolic ได้มากขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ความสามารถในการปฎิบัติงานเชิงรุกคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองต้อกะจกในผู้สูงอายุ และการเยี่ยมบ้านได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 232 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 232 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความสามารถในการคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การคัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q) การเยี่ยมบ้านได้มากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี 2561 (2) ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่ม (3) ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกของเจ้าหน้าที่อสม. และแกนนำในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัสมัส บินสะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......