กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
รพ.สต แป-ระ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี

ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-61-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงาน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา พบว่า มีเด็ก 0-5 ปี ทั้งหมด 543 คนได้รับการเฝ้าระวัง 502 คน คิดเป็นร้อยละ 92.75ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ คือมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 48 คน คิดเป็นร้อยละ 9.56 น้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์ 61 คน คิดเป็นร้อยละ 12.15 เตี้ย 40 คน คิดเป็นร้อยละ 7.97 ค่อนข้างเตี้ย 54 คน คิดเป็นร้อยละ 10.76 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ และระดับภาค เป้าหมายแผนสาธารณสุขฉบับที่ 10ได้กำหนดไว้ว่า ภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ต้องไม่เกินร้อยละ 7 ส่วนด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 0.76 พัฒนาการด้านภาษาเป็นปัญหาที่พบมากกว่าพัฒนาการด้านอื่นๆ ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมตามมาจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการจัดให้มีมุมส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กในสถานพยาบาล ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีการเจริญเติบโตเป็นไปตามปกติพัฒนาการสมวัย ส่งผลให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการ และเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาให้เด็กมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีการพัฒนาการตามวัยซึ่งนำไปสู่การพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คัดกรองภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเชิงรุก
  2. 2. อบรมผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
  3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ความรู้แก่ประชาชน และการติดตามเยี่ยมบ้านรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 522
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการครอบคลุม
    1. เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กลดลง
  2. เด็ก 0–5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ
  3. เด็ก 0–5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่
    ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  4. ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการส่งเสริมโภชนาการและการส่งเสริม พัฒนาการเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คัดกรองภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเชิงรุก

วันที่ 1 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการขออนุมัติโครงการ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ คัดกรองภาวะโภชนาการ บันทึกผลตามแบบคัดกรอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กได้รับการคัดกรองติดตามภาวะโภชนาการและได้รับการส่งเสริมพัฒนาการคิดเป็นร้อยละ100

 

522 0

2. 2. อบรมผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

หนังสือเชิยกลุ่มเป้าหมาย ดำเนินกิจกรรม สรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลโครงการพบว่า
เด็ก 0-5ปีจำนวน 521 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ จำนวน 350คน คิดเป็นร้อยละ65.26 มีภาวะโภชนาการสมส่วน จำนวน 420คน คิดเป็นร้อยละ80.61มีภาวะผอม จำนวน 28คน คิดเป็นร้อยละ5.37 เด็ก 0-5ปีจำนวน 454 มีพฒนาการตามวัย  คิดเป็นร้อยละ87.14  ด็ก 0-5ปีจำนวน 67คนสงสัยพัฒนาการล่าช้า คิดเป็นร้อยละ12.85  เด็ก 0-5ปีจำนวน 4คน  พบสงสัยพัฒนาการล่าช่าต้องส่งต่อโรงพยาบาลท่าแพ  คิดเป็นร้อยละ0.77

 

50 0

3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ความรู้แก่ประชาชน และการติดตามเยี่ยมบ้านรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เดินรณรงคืในชุมชนเรื่องภาวะโภชนการและติป้ายตามจุดต่างในชุมชนเพื่อให้ความรู้เรื่องโภชนาการเด็ก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 572
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 522
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คัดกรองภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเชิงรุก (2) 2. อบรมผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก  (3) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ความรู้แก่ประชาชน และการติดตามเยี่ยมบ้านรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาเด็กอายุ 0-5ปี จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-61-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต แป-ระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด