กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 (ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี หมายถึง ค่าระดับ HbA1C ครั้งสุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ 7 )
40.00 25.04

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 25.04

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าร้อยละ 60 (ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดีหมายถึง มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน
60.00 89.00

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองค้นหาภาวะไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 89

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ได้รับการส่งต่อพบแพทย์
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ต้องได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100