กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อลดอัตราป่วยไม่ให้เกิน 48.72 ต่อแสนประชากร (ลดลงไม่น้อยกว่า 20% จากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2556 – 2560) (3) หมู่บ้าน / ชุมชน เกิด Second generation ไม่เกิน 1 หมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาคมหมู่บ้านและให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก (2) 2.ให้สุขศึกษาเรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันโรคผ่านหอกระจายข่าว/เสียงตามสาย (3) 3. จัดหาเคมีภัณฑ์ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4.แต่งตั้งคณะทำงานควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกระดับหมู่บ้าน(ประกอบด้วยสมาชิก อบต., ผู้นำชุมชน, ครูอนามัย, อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข) (5) 5.อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชน เรื่องการป้องกัน/ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 1 วัน (6) 6.รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ใส่ทรายอะเบท ปลากินลูกน้ำ ทุกหมู่บ้าน ทุก ๓ เดือน โดย อสม, ครู, ผู้นำนักเรียน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (7) 7.ควบคุมการระบาดเบื้องต้น ในบ้านผู้ป่วยที่เป็นจุดที่เข้าถึงยาก และต้องการความรวดเร็วก่อนการควบคุมโรค โดยใช้สเปรย์ฆ่ายุง (8) 8.ควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยปลากินลูกน้ำยุงลาย ใส่ทรายอะเบท และพ่นสารเคมี ในรัศมี ๒๐๐ เมตร จากบ้านผู้ป่วย เฝ้าระวังโรค ๓ ครั้งห่างกัน ๐, ๓ และ ๑๐ วัน  (9) 9.ทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควัน ในสถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก วัด และสถานที่ๆมีการรวมกลุ่มกันในชุมชนทุกเดือน เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในวงกว้างทุกเดือน (10) 10.สุ่มสำรวจความชุกลูกน้ำยุงลาย เพื่อประเมินไขว้ความชุกลูกน้ำยุงลาย สำหรับการวางแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ