กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อช่วยบรรเทาอาการแผลกดทับของผู้ป่วยที่นอนติดเตียง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยร้อยละ 80 มีแผลกดทับลดลง
1.00

 

2 เพื่อบรรเทาอาการภูมิแพ้ของผู้ป่วยที่เป็นโรคภูมิแพ้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีอาการป่วยดีขึ้น
1.00

 

3 เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยฝ่าเท้าของผู้ป่วยที่ปวดเมื่อยฝ่าเท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์โฟมยาง
1.00

 

4 เพื่อเพิ่มมูลค่าของน้ำยางพารา
ตัวชี้วัด : สามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์โฟมยางเพื่อสร้างเป็นอาชีพได้
1.00

 

5 เพื่อสร้างจิตอาสาให้กับนักเรียน และเยาวชนทุกคนในชุมชนให้มีรอยยิ้มกับผู้ป่วยด้วยวิธีต่าง ๆ ตลอดจน การดูแลผู้ป่วยในชุมชนให้มีอาการดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความเป็นจิตอาสามากขึ้น รู้จักการแป่งปัน เป็นเยาวชนที่ดีของชุมชนและประเทศชาติ
1.00

 

6 เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิตที่นอน หมอน ที่นวดฝ่าเท้า และความรู้ด้านสุขภาพ จนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ป่วยในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนสามารถทำผลิตภัณฑ์โฟมยาง 2.นักเรียนสามารถพัฒนาสูตรการทำผลิตภัณฑ์โฟมยางได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อช่วยบรรเทาอาการแผลกดทับของผู้ป่วยที่นอนติดเตียง (2) เพื่อบรรเทาอาการภูมิแพ้ของผู้ป่วยที่เป็นโรคภูมิแพ้ (3) เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยฝ่าเท้าของผู้ป่วยที่ปวดเมื่อยฝ่าเท้า (4) เพื่อเพิ่มมูลค่าของน้ำยางพารา (5) เพื่อสร้างจิตอาสาให้กับนักเรียน และเยาวชนทุกคนในชุมชนให้มีรอยยิ้มกับผู้ป่วยด้วยวิธีต่าง ๆ ตลอดจน การดูแลผู้ป่วยในชุมชนให้มีอาการดีขึ้น (6) เพื่อให้นักเรียน เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิตที่นอน หมอน ที่นวดฝ่าเท้า และความรู้ด้านสุขภาพ จนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ป่วยในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์โฟมยาง  (2) กิจกรรมการทำที่นวดฝ่าเท้ายางพารา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh