แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราการเกิดโรคฟันผุของประชากรทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาลดลงร้อยละ 2 |
2.00 | |||||
2 | 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ ตัวชี้วัด : 3.2 หน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในเขตเทศบาลนครสงขลามีส่วนร่วมในการช่วยกันขับเคลื่อน สังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา ร้อยละ100 |
100.00 | |||||
3 | 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม ตัวชี้วัด : 3.3 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และการแปรงฟันที่ถูกวิธีร้อยละ 60 3.3.1 ผู้ดูแลเด็กที่พาเด็กมารับวัคซีนในคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา ทั้ง 2 แห่งได้รับความรู้เรื่องการแปรงฟันให้เด็กและการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิดถึง 4ปีอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 3.3.2 ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการสอนแปรงฟันและการ ดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 3.3.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง อย่างถูกวิธีร้อยละ 50 3.3.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องตนเองและลูก ได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 60 3.3.5 หญิงมีครรภ์ได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากลูกร้อยละ 60 3.3.6 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและ การดูแลฟันปลอมร้อยละ 80 |
0.00 | |||||
4 | 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : 3.4 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรมที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร้อยละ 50 3.4.1 เด็กแรกเกิด – 4 ปีที่มารับวัคซีนคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนคร สงขลาทั้ง 2 แห่งได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 60 3.4.2 เด็กก่อนวัยเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก การทา ฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 80 3.4.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช การเคลือบหลุม ร่องฟัน การขูดหินน้ำลาย การอุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40 3.4.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรม เช่น การขูดหินน้ำลาย การ อุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ40 3.4.5 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช การขูดหินน้ำลาย การอุด ฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40 |
80.00 | |||||
5 | 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน ตัวชี้วัด : 3.5 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองเกิดเป็นการรวมกลุ่มแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 50 3.5.1 ผู้ดูแลเด็กแรกเกิด – 4 ปีแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กร้อยละ 50 3.5.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กก่อนวัยเรียนร้อยละ 100 3.5.3 โรงเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 6 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ100 |
40.00 |