กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20  2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป และดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนในพื้นที่ (2) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) กิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง  วันที่ 8 เมย /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61 (4) กิจกรรมเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม (5) กิจกรรมประกวดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี  จำนวน 8 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)  กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้ง 5 กิจกรรม มีการดำเนินการทุกปี กิจกรรมที่ดำเนินการมุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง 3 เรื่อง คือ เบาหวาน ความดัน และสารพิษตกค้าง ซึ่งผลที่ได้ มี 3 กลุ่ม กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มปกติ ซึ่ง กลุ่มปกติมาก่อนจะเข้าสู่กลุ่มเสียง กลุ่มเสี่ยงบางคนเข้าสู่กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยยังคงไม่ลดระดับลง  ซึ่งทั้งหมดนี้ ต้องทำซ้ำๆ บ่อยๆ เน้นยำ้กันบ่อย เพราะประชาชนยังไม่รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากนัก โครงการจบก็จบและโครงการจึงยังเป็นกิจกรรมเดิมๆ ไม่มีนวตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น กิจกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น ซึ่งอนาคตเป็นสิ่งที่ เทศบาล หรือ รพสต.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องร่วมกันบูรณาการ หาแนวทางใหม่ๆ เพื่อให้ได้ผลเป็นรูปธรรมมากกว่านี้

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ