กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีสุขภาพดี 2. สามารถลดอัตราการป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ไม่เกินร้อยละ 2.4 3. สถานะสุขภาพ ความดัน /เบาหวาน สารเคมีตกค้างในเลือด ดีขึ้นหลังดำเนินดครงการร้อยละ 70 4.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าวัดปฎิบัติธรรมและส่งเสริมการจัดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ
41.94 70.00 60.00

 

 

ประชาชนยังคงบริโภคผักไม่ได้ตามเป้าหมาย/ ประชาชนยังไม่ค่อยออกกำลังกาย /ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมได้ แต่การบริโภคจัดทำเมนูอาหารไม่แน่ใจว่าได้ปรับเปลี่ยนมากน้อยเพียงใด แต่จากที่ดำเนินการกิจกรรมที่ผ่านมา เป้าหมายยังคงเดิมและมีมากขึ้น จึงมองว่าประชาชนยังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้บางส่วนถึงน้อยมาก และยังคงใช้ชีวิตปกติ โครงการจบแล้วก็จบ มีบางคนซึ่งเล้กน้อยที่รู้จักปรับเปลี่ยนตัวเอง