กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-อบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก -กิจกรรมรณรงค์ ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย -กิจกรรมประเมินบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย   -ประชาชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก -ชุมชนมีการร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย -มีบ้านตัวอย่างที่ผ่านการประเมิน บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ดูแลสิ่งแวดล้อมในบริเวณบ้านชุมชน 2.ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก 3.เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค 4.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

จากข้อมูลระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๖๐ พบว่าบ้านหัวหรั่ง หมู่ที่ ๘ ต.เขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง มีการระบาดโรคเป็นลำดับที่ ๑ ของตำบลเขาชัยสน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเด็กนักเรียน อายุ ๖-๑๔ ปี ประกอบกับชุมชนขาดความตระหนักในการดูแลสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้าน ทำให้มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและมีลูกน้ำยุงลาย ส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ดูแลสิ่งแวดล้อมในบริเวณบ้านชุมชน
2.ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก
3.เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค 4.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) ๑.แจ้งชุมชน ผู้นำชุมชนในการดำเนินงานโครงการ ๒.อสม.คัดเลือก อสม.คู่หู ๓.เลือกกรรมการในการดำเนินโครงการ และกำหนดหน้าที่ของกรรมการแต่ละฝ่าย ๔.วางแผนการดำเนินกิจกรรมในชุมชน ๕.จัดอบรมให้ความรู้ ๖.ดำเนินการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายครั้งที่ ๑ ๗.ประเมินผล/วิเคราะห์ข้อมูล ๘.อสม.และคู่หูร่วมกับครัวเรือนดำเนินการต่อเนื่อง สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง จำนวน ๘ ครั้ง ๙.ดำเนินการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายครั้งที่ ๒ ๑๐.วิเคราะห์/สรุปผล ๑๑.แจ้งผลและมอบธงบ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย ในที่ประชุมหมู่บ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.ประชาชนตระหนักในการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ๒.ชุมชนสะอาด ๓.ผลการสำรวจลูกน้ำ ไม่เกิน ๑๐ ๔.การป่วยด้วยไข้เลือดออกลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ -อบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก -กิจกรรมรณรงค์ ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย -กิจกรรมประเมินบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย -ประชาชนมีความรู้ในเรื่องไข้เลือดออก -ชุมชนมีการร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย -มีบ้านตัวอย่างที่ผ่านการประเมิน บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย

ตัวชี้วัดความสำเร็จ -ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน ๑๐ -การเกิดโรคไข้เลือดออกลดลง -เกิดชุมชนสะอาด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh