กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ ต่อยอดธนาคารขยะ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในหมู่บ้าน ลดปริมาณขยะในหมู่บ้าน มีธนาคารขยะต้นแบบ ประชาชนให้ความสำคัญ เข้าร่วมโครงการ และมีการคัดแยกขยะจากครัวเรือน ปริมาณขยะรีไซเคิลเพิ่มขึ้น เกิดนวัตกรรมการประดิษฐ์กระเป๋าจากขยะรีไซเคิล มีประชาชนเข้าร่วมโครงการจำนวน ๑๕๐ คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะจากครัวเรือน,2.เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความสำคัญ เข้าร่วมโครงการ และมีการคัดแยกขยะจากครัวเรือน 2.ปริมาณขยะรีไซเคิลเพิ่มขึ้น
0.00 150.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันบ้านป่ายูง มีปริมาณขยะเฉลี่ยถึง ๖๐๐ กก.ต่อวัน ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน หากคิดเฉลี่ยเป็นรายครอบครัวแล้ว ๑ ครอบครัว จะก่อให้เกิดขยะในปริมาณ ๓ กิโลกรัมต่อวัน จึงเป็นภาระหนักของ บ้านป่ายูง ในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้าง เป็นจำนวนมากในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรก ไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหนะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย  ท่อระบายน้ำอุดตัน เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และเกิดก๊าช มีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม     เพื่อให้ปริมาณขยะในบ้านป่ายูงลดลง จึงได้จัดทำโครงการบ้านป่ายูงปลอดขยะ ขึ้นมา เพื่อรณรงค์ให้ครัวเรือน คัดแยกขยะจากต้นทาง เป็นการป้องกันปัญหาต่างๆที่จะตามมาเช่นปัญหาด้านมลพิษ สิ่งแวดล้อม และลดแหล่งกำเนินโรคต่างๆ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะจากครัวเรือน,2.เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้/รณรงค์ อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ ต่อยอดธนาคารขยะ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในหมู่บ้าน ลดปริมาณขยะในหมู่บ้าน มีธนาคารขยะต้นแบบ ประชาชนให้ความสำคัญ เข้าร่วมโครงการ และมีการคัดแยกขยะจากครัวเรือน ปริมาณขยะรีไซเคิลเพิ่มขึ้น เกิดนวัตกรรมการประดิษฐ์กระเป๋าจากขยะรีไซเคิล มีประชาชนเข้าร่วมโครงการจำนวน ๑๕๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh