กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ ข้อ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเอง ข้อ 2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยข้อ
3 เพื่อติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้านตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1 ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเองร้อยละ 80 2 ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
3 ผู้ป่วยได้รับยาและมีการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ100 ผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังด้วยสมุดคู่กายมิตรแท้ผู้ป่วยเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้างจัดคลินิกผู้ป่วยเรื้อรังเดือนละ 1 ครั้งมีผู้ป่วยรับบริการทั้งหมดจำนวน 100 รายแยกเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 20 รายโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 80 รายเพื่อควบคุมป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลานช้างได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการปิงปองจราจร 7 สีเดือนละ 1 ครั้งในวันที่มีคลินิคและการส่งเสริมการใช้สมุนไพรการแช่เท้าด้วยสมุนไพรการพอกเข่าในกลุ่มที่มีอาการปวดเข่าการจัดกลุ่มให้ความรู้ตามภาวะเสี่ยงของผู้ป่วย ผลการดำเนินงาน
1 การจัดทำสมุดคู่กายเพื่อให้ผู้ป่วยได้ทราบถึงผลการรักษาของโรคเบาหวานความดันของตนเอง 2 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันที่คลินิก 10 ครั้งและได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทย กลุ่มเบาหวานจำนวนทั้งหมด 20 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 20 รายคิดเป็นร้อยละ 100
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลจำนวน 18 รายเป็นร้อยละ 90
ไม่สามารถควบคุมได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อนส่งพบแพทย์จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 10
กลุ่มความดันโลหิตสูงจำนวน 80 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 80 รายคิดเป็นร้อยละ 100 ที่ไม่สามารถมารับยาได้ทีมออกติดตามจ่ายยาที่บ้าน
สามารถควบคุมได้ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจำนวน 75 รายคิดเป็นร้อยละ 93.75

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ