กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน
1 การจัดทำสมุดคู่กายเพื่อให้ผู้ป่วยได้ทราบถึงผลการรักษาของโรคเบาหวานความดันของตนเอง 2 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันที่คลินิก 10 ครั้งและได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทย กลุ่มเบาหวานจำนวนทั้งหมด 20 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 20 รายคิดเป็นร้อยละ 100
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลจำนวน 18 รายเป็นร้อยละ 90
ไม่สามารถควบคุมได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อนส่งพบแพทย์จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 10
กลุ่มความดันโลหิตสูงจำนวน 80 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 80 รายคิดเป็นร้อยละ 100 ที่ไม่สามารถมารับยาได้ทีมออกติดตามจ่ายยาที่บ้าน
สามารถควบคุมได้ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจำนวน 75 รายคิดเป็นร้อยละ 93.75

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
20.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

วัตถุประสงค์ ข้อ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเอง ข้อ 2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยข้อ
3 เพื่อติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้านตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1 ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเองร้อยละ 80 2 ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
3 ผู้ป่วยได้รับยาและมีการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ100 ผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังด้วยสมุดคู่กายมิตรแท้ผู้ป่วยเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้างจัดคลินิกผู้ป่วยเรื้อรังเดือนละ 1 ครั้งมีผู้ป่วยรับบริการทั้งหมดจำนวน 100 รายแยกเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 20 รายโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 80 รายเพื่อควบคุมป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลานช้างได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการปิงปองจราจร 7 สีเดือนละ 1 ครั้งในวันที่มีคลินิคและการส่งเสริมการใช้สมุนไพรการแช่เท้าด้วยสมุนไพรการพอกเข่าในกลุ่มที่มีอาการปวดเข่าการจัดกลุ่มให้ความรู้ตามภาวะเสี่ยงของผู้ป่วย ผลการดำเนินงาน
1 การจัดทำสมุดคู่กายเพื่อให้ผู้ป่วยได้ทราบถึงผลการรักษาของโรคเบาหวานความดันของตนเอง 2 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันที่คลินิก 10 ครั้งและได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทย กลุ่มเบาหวานจำนวนทั้งหมด 20 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 20 รายคิดเป็นร้อยละ 100
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลจำนวน 18 รายเป็นร้อยละ 90
ไม่สามารถควบคุมได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อนส่งพบแพทย์จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 10
กลุ่มความดันโลหิตสูงจำนวน 80 ราย มารับยาทุกเดือนจำนวน 80 รายคิดเป็นร้อยละ 100 ที่ไม่สามารถมารับยาได้ทีมออกติดตามจ่ายยาที่บ้าน
สามารถควบคุมได้ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจำนวน 75 รายคิดเป็นร้อยละ 93.75

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh