กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี ร้อยละ 67.20
  2. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 2 ปี ร้อยละ 21.36 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 3 ปี ร้อยละ 61.54 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 5 ปี ร้อยละ 56.86

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในเขตอบต.ตุยงได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปีครบตามเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90%
50.00 56.86

 

2 ไม่มีการเกิดโรคป้องกันได้ด้วยวัคซีนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้แก่ โรคคอตีบ เป้าหมาย ไม่เกิน 0.015 ต่อประชากรแสนคน และโรคหัดในผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุ เป้าหมาย ไม่เกิน 3 ต่อประชากรล้านคน
0.00 0.00

 

3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราการติดตามเด็กขาดนัดโดย อสม.ในพื้นที่ครบทุกราย เป้าหมาย 100%
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในเขตอบต.ตุยงได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) ไม่มีการเกิดโรคป้องกันได้ด้วยวัคซีนในชุมชน (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้ปกครองเด็กขาดนัดในเขตอบต.ตุยง พร้อมกับเจ้าหน้าที่ให้บริการวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการสาธารณสุขได้ ครั้งที 1 (2) ประชุมตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง เพื่อรับทราบข้อมูลเด็กขาดนัดหรือไม่ได้รับวัคซีนในแต่ละไตรมาส (3) ประชุมผู้ปกครองเด็กขาดนัดในเขตอบต.ตุยง พร้อมกับเจ้าหน้าที่ให้บริการวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการสาธารณสุขได้ ครั้งที่ 2 (4) ประชุมตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขเขต อบต.ตุยง เพื่อสรุปผลการดำเนินงานวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh