กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหารจำนวน ๕๐ คน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ หลังจากที่ได้รับการปรับเปลี่ยนแล้ว ติดตาม ๓ เดือนหลังจากทำกิจกรรม พบว่าผู้ป่วยสามารคควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีขึ้นคิดเป็นร้อยละ ๘ และผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้นร้อยละ ๓๒

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเช่น ความดันโลหิตสูง /เบาหวาน / หัวใจ / และหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ร้อยละ ๕ และ ๑๐
0.00

 

4 เพื่อประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2201
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,201
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเช่น  ความดันโลหิตสูง /เบาหวาน / หัวใจ / และหลอดเลือด (4) เพื่อประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการรณรงค์คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/ความเสี่ยงต่อโรคหัวใจในกลุ่มประชาชนอายุ  35 ปีขึ้นไป (2) กิจกรรมอบรมผู้ดูแลกลุ่มป่วย (Care giver management) (3) กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยด้านอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh