โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอิสเฮาะบูละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง
ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี โดยในปี 2556 มีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ถึง 2 ล้านตันและในปี 2557 มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนประมาณ 26.19 ล้านตัน ซึ่งขยะที่ได้เก็บขนและนำไปกำจัดโดย อปท.จำนวน 4,422 แห่ง พบว่ามีขยะร้อยละ 75 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศเป็นขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดยังสถานที่ที่ถูกต้องประมาณ 7.88 ล้านต้น (ร้อยละ 53.2) และปริมาณขยะอีกประมาณ 6.93 ล้านตัน (ร้อยละ 46.8) ถูกนำไปกำจัดยังสถานที่กำจัดขยะที่ไม่ถูกต้อง ขณะเดียวกันในพื้นที่อีก 3,355 แห่ง ไม่มีการให้บริการเก็บขนขยะประชาชนจะดำเนินการกำจัดขยะในครัวเรือนเอง โดยการเทกอง เผาในที่โล่ง และลักลอบทิ้งในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งมีจำนวนขยะคิดเป็นร้อยละ 25 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนที่ถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนมีการดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยลดลง และเมื่อพิจารณาอัตราการผลิตขยะต่อคนต่อวัน ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาพบว่า มีอัตราการเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 มีอัตราการผลิตขยะต่อคนเท่ากับ 0.3 กก/คน/วัน แต่ในปี 2557 มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 1.11 กิโลกรัม/คน/วัน แสดงให้เห็นถึงการขาดความตระหนัก ความเข้าใจ และความรับผิดชอบของสมาชิกในชุมชนตั้งแต่ระดับครัวเรือนซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญที่สุด
ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนคลองช้าง
จากการสำรวจปัญหาขยะในชุมชนคลองช้าง ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 579 ครัวเรือน มี
ประชากรทั้งหมด 1,954 คน มีอาณาเขตตั้งแต่ ถนนปัตตานีภิรมย์ แยกเข้าถนนโรงเรียนเทศบาล 6 ถนนเจริญนคร ตรอกสะพานยาว ถนนนาเกลือ ซอย7
ทิศเหนือ จดอบต.บานา
ทิศใต้จดชุมชนหัวตลาด
ทิศตะวันออก จดชุมชนหัวตลาด
ทิศตะวันตก จดแม่น้ำปัตตานี
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เป็นชุมชนที่ตั้งติดกับแม่น้ำปัตตานี บ้านอยู่อาศัยล้อมรอบติดกับชุมชน
ใกล้เคียง มีแรงงานต่างด้าวอยู่อาศัยเนื่องจาก เป็นที่จอดเรือของผู้ประกอบการธุรกิจประมงหลายบริษัท การดำเนินชีวิตส่วนใหญ่เป็นร้านค้า โรงกลึง และประมง จะพบปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยเป็นส่วนมากทำให้มีการบริโภค อุปโภค และกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งขยะต่าง ๆ เหล่านี้ประชาชนจะทิ้งรวมในถังขยะ ทิ้งในแม่น้ำ ไม่มีการคัดแยกขยะ ในชุมชนมีถังขยะเทศบาลจำนวน 11 ใบ ตั้งอยู่ในบริเวณป้ายชุมชน ถนนเจริญนคร ถนนโรงเรียนเทศบาล 6ถนนปัตตานีภิรมย์ใกล้มัสยิด ถ.นาเกลือ ซอย 7 และตรอกสะพานยาว ในถังขยะสามารถแยกตามประเภทของขยะได้ดังนี้ ขยะรีไซเคิล 45% ขยะอินทรีย์ 30 % ขยะทั่วไป 20% ขยะอันตราย 5% ส่งผลให้เกิดความสกปรกไม่เป็นระเบียบ แหล่งเพาะพันธุ์ เชื้อโรค มีสารพิษปนเปื้อนลงที่ดินและน้ำ ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะต่อประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
- เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่
- เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม
- จัดทำกิจกรรม “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์”
- จัดทำกิจกรรม ขยะแลกเงิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
- ประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน
- มีแกนนำในการจัดการขยะในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕0 ของประชาชนในชุมชน
0.00
2
เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของประชาชนในชุมชน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
0.00
3
เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในชุมชนรับทราบการประชาสัมพันธ์ในการคัดแยกขยะ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่ (3) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม (2) จัดทำกิจกรรม “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์” (3) จัดทำกิจกรรม ขยะแลกเงิน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอิสเฮาะบูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอิสเฮาะบูละ
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี โดยในปี 2556 มีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ถึง 2 ล้านตันและในปี 2557 มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนประมาณ 26.19 ล้านตัน ซึ่งขยะที่ได้เก็บขนและนำไปกำจัดโดย อปท.จำนวน 4,422 แห่ง พบว่ามีขยะร้อยละ 75 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศเป็นขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดยังสถานที่ที่ถูกต้องประมาณ 7.88 ล้านต้น (ร้อยละ 53.2) และปริมาณขยะอีกประมาณ 6.93 ล้านตัน (ร้อยละ 46.8) ถูกนำไปกำจัดยังสถานที่กำจัดขยะที่ไม่ถูกต้อง ขณะเดียวกันในพื้นที่อีก 3,355 แห่ง ไม่มีการให้บริการเก็บขนขยะประชาชนจะดำเนินการกำจัดขยะในครัวเรือนเอง โดยการเทกอง เผาในที่โล่ง และลักลอบทิ้งในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งมีจำนวนขยะคิดเป็นร้อยละ 25 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนที่ถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนมีการดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยลดลง และเมื่อพิจารณาอัตราการผลิตขยะต่อคนต่อวัน ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาพบว่า มีอัตราการเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 มีอัตราการผลิตขยะต่อคนเท่ากับ 0.3 กก/คน/วัน แต่ในปี 2557 มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 1.11 กิโลกรัม/คน/วัน แสดงให้เห็นถึงการขาดความตระหนัก ความเข้าใจ และความรับผิดชอบของสมาชิกในชุมชนตั้งแต่ระดับครัวเรือนซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญที่สุด
ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนคลองช้าง
จากการสำรวจปัญหาขยะในชุมชนคลองช้าง ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 579 ครัวเรือน มี
ประชากรทั้งหมด 1,954 คน มีอาณาเขตตั้งแต่ ถนนปัตตานีภิรมย์ แยกเข้าถนนโรงเรียนเทศบาล 6 ถนนเจริญนคร ตรอกสะพานยาว ถนนนาเกลือ ซอย7
ทิศเหนือ จดอบต.บานา
ทิศใต้จดชุมชนหัวตลาด
ทิศตะวันออก จดชุมชนหัวตลาด
ทิศตะวันตก จดแม่น้ำปัตตานี
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เป็นชุมชนที่ตั้งติดกับแม่น้ำปัตตานี บ้านอยู่อาศัยล้อมรอบติดกับชุมชน ใกล้เคียง มีแรงงานต่างด้าวอยู่อาศัยเนื่องจาก เป็นที่จอดเรือของผู้ประกอบการธุรกิจประมงหลายบริษัท การดำเนินชีวิตส่วนใหญ่เป็นร้านค้า โรงกลึง และประมง จะพบปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยเป็นส่วนมากทำให้มีการบริโภค อุปโภค และกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งขยะต่าง ๆ เหล่านี้ประชาชนจะทิ้งรวมในถังขยะ ทิ้งในแม่น้ำ ไม่มีการคัดแยกขยะ ในชุมชนมีถังขยะเทศบาลจำนวน 11 ใบ ตั้งอยู่ในบริเวณป้ายชุมชน ถนนเจริญนคร ถนนโรงเรียนเทศบาล 6ถนนปัตตานีภิรมย์ใกล้มัสยิด ถ.นาเกลือ ซอย 7 และตรอกสะพานยาว ในถังขยะสามารถแยกตามประเภทของขยะได้ดังนี้ ขยะรีไซเคิล 45% ขยะอินทรีย์ 30 % ขยะทั่วไป 20% ขยะอันตราย 5% ส่งผลให้เกิดความสกปรกไม่เป็นระเบียบ แหล่งเพาะพันธุ์ เชื้อโรค มีสารพิษปนเปื้อนลงที่ดินและน้ำ ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะต่อประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
- เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่
- เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม
- จัดทำกิจกรรม “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์”
- จัดทำกิจกรรม ขยะแลกเงิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
- ประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน
- มีแกนนำในการจัดการขยะในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕0 ของประชาชนในชุมชน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของประชาชนในชุมชน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในชุมชนรับทราบการประชาสัมพันธ์ในการคัดแยกขยะ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่ (3) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการและกิจกรรม (2) จัดทำกิจกรรม “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์” (3) จัดทำกิจกรรม ขยะแลกเงิน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะชุมชนคลองช้าง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอิสเฮาะบูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......