กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุผลและสำเร็จด้วยดีตามวัตถุประสงค์ - เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น - เพื่อเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จากวัตถุประสงค์โครงการข้างต้นได้มีการดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้ 1. ดำเนินการกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน/อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
  โดยการจัดทำเวทีประชาคมในพื้นที่ จำนวน 2 ครั้ง ในวันที่ 27 เมษายน 2561 และ 4 พฤษภาคม 2561 มีการคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจค้นหาปัญหา และได้วางแผนดำเนินการแก้ไข โดยชุมชนเป็นคนคิดและวางแผนแก้ไข มีการกำหนดจัดกิจกรรมในชุมชนเพื่อการสร้างการมีส่วนร่วม เครือข่าย 2. ดำเนินกิจกรรม ดังนี้   กิจกรรมรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้านและโรงเรียน ปลูกฝัง และสร้างการเรียนรู้ในเด็กนักเรียน จำนวน 2 ครั้ง ในวันที่ 8 มิถุนายน 2561 และ 6 กรกฎาคม 2561 3. พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ/ติดตามประเมินผลโครงการ   มีการติดตามบ้านสะอาดปลอดยุงลาย โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน อสม. และสรุปผลการดำเนิน จำนวน 2 ครั้ง ในวันที่ 3 สิงหาคม 2561 และ 14 กันยายน 2561

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : .ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน/อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก (3) พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ/ติดตามประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh