กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทยและปราชญ์ชาวบ้าน การแพทย์ทางเลือก เพื่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพครอบคลุมในชุมชน สอดคล้องตามนโยบาย ที่ว่าด้วยการยกระดับวิถีชีวิตให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนาบทบาท ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนปฏิบัติออกกำลังกายด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับวัย นำทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์บนท้องถิ่นมาประกอบทำอาหาร
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจบทบาทเป็นผู้ให้บริการ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี และที่เข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ และได้รับการดูแลสุขภาพด้วยวิถีท้องถิ่นบนเกาะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงระบบการได้รับบริการสุขภาพด้วยภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการ ส่งเสริมป้องกันสุขภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทยและปราชญ์ชาวบ้าน การแพทย์ทางเลือก เพื่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพครอบคลุมในชุมชน สอดคล้องตามนโยบาย  ที่ว่าด้วยการยกระดับวิถีชีวิตให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนาบทบาท ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจบทบาทเป็นผู้ให้บริการ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี และที่เข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ และได้รับการดูแลสุขภาพด้วยวิถีท้องถิ่นบนเกาะ (3) เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สอนทฤษฎีการออกกำลังกายและสอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพของ รพ.สต. อย่างเป็นระบบ (2) สอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและทฤษฎีผักพื้นบ้าน ผักในป่า และทรัพยากรบนเกาะ (3) ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรผักพื้นบ้าน ผักในป่า (4) ฝึกปฏิบัติการนวด (5) ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh