กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบความรู้ในกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลางและดี มากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค
ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค จากการร่วมทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80 ของภาคเครือข่ายในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 695
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง (2) เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ (3) 3. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 3อ2ส ให้แก่ประชาชน ได้แก่ ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ , นักเรียนในโรงเรียน , ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ (4) 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย เรื่อง 3อ2ส (5) 4.2 กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ (6) 5. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยพิการ โดย อสม. จิตอาสา ทีมสุขภาพ และผู้มีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วย เช่น ญาติ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา (7) 4.3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริมการออกกำลังกายในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ (8) 4.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ สำหรับผู้ดูแลและจิตอาสาในชุมชน (9) 4.5 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุแบบบูรณาการในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ (10) 6. จัดประกวดครอบครัวต้นแบบ 3อ2ส โดย อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน (11) 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh