กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตั้งไว้ 40 คน
-โดยจัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน) สร้างความเข้าใจและร่วมกำหนดวางแผนรูปแบบวิธีการการดำเนินงานโครงการ และการประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 วัน -การจัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมายในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. การจัดการขยะ การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม และกำหนดแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้ จำนวน 1 วัน ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ครบทุกครัวเรือน ผลลัพธ์ :กลุ่มเป้าหมายสามารถจัดการขยะได้ถูกต้องและต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้มีความรู้ มีความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี ร่วมมือหรือมีส่วนร่วมในการจัดการขยะหรือคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ทั้งในระดับบ้านเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวแทนของครัวเรือนได้รับการอบรมอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ และมีทัศนคติที่ดีขึ้นในการร่วมกันกำจัดขยะของครัวเรือน
1.00

 

2 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : โรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจาระร่วงโรคฉี่หนู ลดลง
1.00

 

3 3. เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนสะอาด กำจัดขยะถูกต้อง อย่างต่อเนื่อง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนได้รับประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อย ร้อยละ ๒๕
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนให้มีความรู้ มีความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี ร่วมมือหรือมีส่วนร่วมในการจัดการขยะหรือคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ทั้งในระดับบ้านเรือนและชุมชน (2) 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) 3.  เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนสะอาด  กำจัดขยะถูกต้อง อย่างต่อเนื่อง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดฝึกอบรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย  (2) จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน และแกนนำเยาวชน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh