กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินการโครงการสตรีอัยเยอร์เวงร่วมใจป้องกัน รู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2560 ผลการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เกิดควาตระหนัก และมีความสนใจในการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มมากขึ้น และสามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 ปี 1,496 คน สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 35-37 ปี ตรวจได้ด้วยตนเอง จำนวน 1,454 คน คิดเป็นร้อยละ 97.91 ตรวจมะเร็งปากมดลูกสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี จำนวน 1,261 คน ปี พ.ศ. 2560 ตรวจได้ 142 คน คิดเป็นร้อยละ 11.26 ปีงบประมาณ 2558-2560 กลุ่มเป้าหมาย 1,261 คน ตรวจได้ทั้งหมด 806 คน คิดเป็นร้อยละ 63.91

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร้งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะแรก
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อสร้างพลังสตรีอาสาต้านภัยมะเร็งในชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิผล
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร้งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะแรก  (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (4) เพื่อสร้างพลังสตรีอาสาต้านภัยมะเร็งในชุมชน  (5) เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh